256
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
พื้
นบ้
านและประเพณี
ความเชื่
อของชาวบ้
านในอ�
ำเภอพรหมพิ
ราม จั
งหวั
ดพิ
ษณุ
โลก
ในท�
ำนองเดี
ยวกับงานของ สุ
รพล สกุ
ณา (2540) ซึ่
งศึ
กษาการละเล่นพื้
นบ้านและ
ประเพณี
ความเชื่
อของชาวบ้านในอ�
ำเภอหนองขาหย่าง จั
งหวั
ดอุ
ทั
ยธานี
นอกจาก
นี้
และยั
งมี
งานเขี
ยนในภาษาไทยในด้
านอื่
นๆ อี
กจ�
ำนวนหนึ่
ง ซึ่
งศึ
กษาเกี่
ยวข้
องกั
บ
ภูมิ
ปั
ญญาด้
านวรรณกรรมมุ
ขปาฐะ ภูมิ
ปั
ญญาด้
านงานช่
างฝี
มื
อ และภูมิ
ปั
ญญา
ด้
านเทคโนโลยี
พื้
นบ้
าน และภูมิ
ปั
ญญาด้
านทางโบราณคดี
และประวั
ติ
ศาสตร์
งานศึ
กษาเหล่
านี้
จึ
งเป็
นเพี
ยงการรวบรวมพื้
นฐานความรู้
ด้
านศิ
ลปวั
ฒนธรรมและ
ความเชื่
อด้านต่างๆ ของหมู่บ้านเท่านั้
น
ส่วนกรณีศึกษาที่น่าสนใจในประเด็นนี้อยู่ที่การหันมามองวัฒนธรรมชุมชน
ในแง่
ของชี
วิ
ตวั
ฒนธรรมมากขึ้
นกว่
าเพี
ยงการมองในแง่
ของศิ
ลปวั
ฒนธรรมที่
ตายตั
วเท่
านั้
น เพื่
ออธิ
บายพลวั
ตของภูมิ
ปั
ญญาในการพั
ฒนา ซึ่
งแสดงให้
เห็
นจาก
การปรั
บตั
ว เพื่
อสร้
างรายได้
หรื
อแก้
ปั
ญหาของชุ
มชน ดั
งตั
วอย่
างเช่
น อารยะ ภูสาหั
ส
และศั
กดิ์
รั
ตนชั
ย (2539) พยายามอธิ
บายศั
กยภาพในการปรั
บตั
วของชุ
มชน
ห่างไกล ด้วยการศึ
กษา ชาวบ้านในอ�
ำเภอแจ้ห่ม จั
งหวั
ดล�
ำปางซึ่
งสามารถน�
ำเอา
ศิ
ลปวั
ฒนธรรมพื้
นบ้
าน ในรูปของหั
ตถกรรมการจั
กสานไม้
ไผ่
มาช่
วยเสริ
มสร้
าง
กระบวนการเรี
ยนรู้
และสร้
างความสั
มพั
นธ์
ทางสั
งคมแบบใหม่
ในการปรั
บตั
ว
ต่อกระแสการเปลี่
ยนแปลง ที่
ไปลดทอนแรงเกาะเกี่
ยวในชุ
มชนลงไป
ในขณะที่
งานของ ยิ่
งยง เทาประเสริ
ฐ (2538) ก็
ได้
ศึ
กษาพลวั
ตในการปรั
บตั
ว
ของชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบท ในอ�
ำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ซึ่งก็สามารถพัฒนา
กระบวนการเรียนรู้ จากภูมิปัญญาท้องถิ่นได้เช่นเดียวกัน ส่วนงานวิจัยของ นุ
กูล
บ�ำรุงไทย (2540) พบว่าชาวบ้านในจังหวัดตากสามารถน�
ำเอาภูมิปั
ญญาท้องถิ่น
มาใช้
ในการพั
ฒนาเศรษฐกิ
จชุ
มชนแบบพึ่
งตนเองขึ้
นมา เพื่
อช่
วยในการ
ปรั
บตัวของพวกเขา ซึ่
งก็
คล้ายคลึ
งกั
บงานวิ
จั
ยของ มนตรา พงษ์นิ
ล (2548) เรื่
อง
“ภูมิ
ปั
ญญากว๊
านพะเยา: บนเส้
นทาง ‘ผลิ
ตภั
ณฑ์
ชุ
มชน’ กั
บคนกิ
นน�้ำแม่
เดี
ยวกั
น”
ที่
วิ
เคราะห์
ว่
า ภูมิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นมี
พลวั
ตได้
ก็
ด้
วยพลั
งของวั
ฒนธรรมชุ
มชนที่
เข้
มแข็
ง
จนสามารถพั
ฒนา ‘ผลิ
ตภั
ณฑ์ชุ
มชน’ ใหม่ๆ ขึ้
นมาได้