งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
253
แม้
การศึ
กษาต่
างๆ ทั้
งหลายจะยื
นยั
นอย่
างหนักแน่
นตรงกั
นว่
า ชุ
มชน
ท้
องถิ่
นมี
ภูมิ
ปั
ญญาที่
มี
ศั
กยภาพในการจั
ดการทรั
พยากรของตนเอง แต่
งานวิ
จั
ย
ของ วิ
เศษ สุ
จิ
นพรั
หม (2545) ก็
ได้น�
ำเสนอให้เห็
นถึ
งประเด็
นปัญหาในการจั
ดการ
ทรั
พยากรธรรมชาติ
ว่
าเกิ
ดจากระบบการจั
ดการของรั
ฐ ซึ่
งได้
เข้
ามาเบี
ยดขั
บพลั
ง
ของชุ
มชนออกไปทั้
งๆ ที่
การจั
ดการของท้
องถิ่
นมี
ประสิ
ทธิ
ภาพมากกว่
า โดยยก
กรณีศึกษาจากชุมชนต่างๆ ในภาคเหนือที่มีระบบการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ที่
มี
ประสิ
ทธิ
ภาพมาเปรี
ยบเที
ยบ ทั้
งนี้
งานวิ
จั
ยของ ปิ่นแก้ว เหลื
องอร่ามศรี
(2547)
แสดงให้
เห็
นว่
า ความรู้
เกี่
ยวกั
บป่
าไม้
ของรั
ฐนั้
นมี
ลั
กษณะเป็
นการเมื
องของการ
แย่งชิ
งพื้
นที่
ระหว่างรั
ฐกั
บชุ
มชนท้องถิ่
น
แต่
ประสบการณ์
ของชาวบ้
านถวาย ในจั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
ที่
พบในงานวิ
จั
ย
ของ อนุ
รั
กษ์
ปั
ญญานุ
วั
ฒน์
(2543) ก็
ชี้
ให้
เห็
นอี
กด้
านหนึ่งว่
าปั
ญหาหลั
กของ
การจั
ดการทรั
พยากรธรรมชาติ
ระดั
บชุ
มชนในปั
จจุ
บั
นสามารถเกิ
ดขึ้
นได้
เช่
นกั
น
เมื่
อชุ
มชนก้
าวเข้
าสู่
การผลิ
ตสิ
นค้
าจ�
ำหน่
ายในทางธุ
รกิ
จ และมี
ผลให้
ระบบ
การจั
ดการทรั
พยากรธรรมชาติ
ตามประเพณี
เริ่
มเสื่
อมโทรมลงจนไร้
พลั
งและ
ศั
กยภาพในการดูแลทรั
พยากรอย่างเพี
ยงพอ
ส�
ำหรั
บระบบภูมิ
ปั
ญญาด้
านการเกษตรก็
ถื
อเป็
นอี
กประเด็
นหนึ่
งที่
มี
งานวิ
จั
ย
จ�
ำนวนมากให้
ความสนใจ การศึ
กษาครั้
งนี้
สามารถรวบรวมได้
งานวิ
จั
ยจ�
ำนวน
20 รายการ ผู้
สนใจศึ
กษาเกี่
ยวกั
บภูมิ
ปั
ญญาด้
านการเกษตรนี้
มี
จุ
ดเน้
นแตกต่
างกั
นไป
อยู่
หลายทิ
ศทางด้
วยกั
น โดยเริ่
มศึ
กษาการเกษตรของกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ในงานของ Paul
Durrenberger และ Nicola Tannenbaum (1985) ซึ่
งศึ
กษาการเพาะปลูกของชาวไทยใหญ่
แต่
งานส�
ำคั
ญในกลุ
่
มนี้
มั
กจะเป็
นการประมวลรวบรวมความรู้
เกี่
ยวกั
บพื
ชพั
นธุ
์
เช่น งานของ Edward F. Anderson (1993) ซึ่
งศึ
กษารวบรวมพื
ชกว่า 1,000 ชนิ
ด
ที่
กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
บนพื้
นที่
สูง 6 กลุ
่
มได้
ใช้
ประโยชน์
ทั้
งในแปลงเกษตรและพื
ชใน
ธรรมชาติ
นอกจากนั้
นจะเป็
นการศึ
กษาวั
ฒนธรรมด้
านการเกษตรอย่
างกว้
างๆ เช่
น
บทความของ Sukanya Sujachary (2002) ซึ่
งศึ
กษาวั
ฒนธรรมข้
าวของชาวไทยเป็
นต้
น