Previous Page  252 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 252 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

251

เกี่ยวกับประเด็นนี้มาอย่

างต่

อเนื่องทุกปี

เช่น อุไรวรรณ ตันกิมยง (2538) ศึกษา

ภูมิ

ปั

ญญาของชาวนาพื้

นราบภาคเหนื

อในการจั

ดการระบบเหมื

องฝายซึ่

งมี

ส่

วน

อย่างส�

ำคั

ญในการสร้างความเข้มแข็

งขององค์กรชุ

มชน ในการปรั

บตั

วของท้องถิ่

ท่

ามกลางความเปลี่

ยนแปลงต่

างๆ และชูสิ

ทธิ์

ชูชาติ

(2538, 2543) ศึ

กษาการจั

ดการ

ทรั

พยากรธรรมชาติ

ของชาวกะเหรี่

ยง ละเวื

อะ และชาวไทยที่

ตั้

งถิ่

นฐานอยู่

บนพื้

นที่

สูง

ซึ่

งสามารถน�

ำเอาภูมิ

ปัญญาท้องถิ่

นมาช่วยแก้ปัญหาที่

เกิ

ดจากภั

ยแล้ง

หลั

งจากนั้

น ปิ

นแก้

ว เหลื

องอร่

ามศรี

(2539) จึ

งศึ

กษาระบบการจั

ดการ

ทรั

พยากรธรรมชาติ

ของชาวกะเหรี่

ยงในเขตรั

กษาพั

นธุ

สั

ตว์

ป่

าทุ

งใหญ่

นเรศวร

โดยเน้

นให้

เห็

นความสั

มพั

นธ์

ระหว่

างมนุ

ษย์

กั

บธรรมชาติ

และสิ่

งเหนื

อธรรมชาติ

ส่

วนประเสริ

ฐ ตระการศุ

ภกร (2541) ชี้

ให้

เห็

นว่

า ภูมิ

ปั

ญญาของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

บนพื้

นที่

สูง

ในการจั

ดการทรั

พยากรธรรมชาติ

มี

ส่

วนอย่

างส�

ำคั

ญในการรั

กษาความหลากหลาย

ทางชีวภาพขณะที่การศึกษาของ มนตรี จันทวงศ์ และปริศนา พรหมมา (2541)

ก็

สนั

บสนุ

นว่า การจั

ดการทรัพยากรธรรมชาติ

ของชาวกะเหรี่

ยงในชุ

มชน 2 แห่งใน

จั

งหวั

ดเชียงใหม่

ช่

วยรั

กษาความหลากหลายทางชีวภาพ พร้

อมๆ กั

นนั้

นงานของ

เบญจา ศิ

ลารั

กษ์ และกรรณิ

การ์

พรมเสาร์ (2542) ก็

น�ำเสนอให้เห็

นอย่างชั

ดเจนว่า

ความรู้ของผู้รู้ชาวปกาเกอะญอแสดงถึงความเข้าใจความหลากหลายทางชีวภาพ

จากความสามารถในการอธิ

บายความซั

บซ้อนของป่าประเภทต่างๆ ได้อย่างลึ

กซึ้

ซึ่

งเกี่

ยวข้องกั

บคติ

ความเชื่

อต่างๆ อย่างมากมายในวั

ฒนธรรมของพวกเขา

ในระยะต่

อมาจึ

งมี

งานศึ

กษาที่

เชื่

อมโยงให้

เห็

นว่

า พลั

งของภูมิ

ปั

ญญาในการ

จั

ดการทรั

พยากรธรรมชาติ

นั้

นยั

งเกี่

ยวข้

องกั

บพิ

ธี

กรรมความเชื่

อด้

วย เช่

น การศึ

กษา

พิ

ธี

กรรมจั

บปลาบึ

กในลุ่มน�้

ำโขง ในงานวิ

จั

ยของ วิ

เชี

ยร มี

บุ

ญ (2541) ที่

ชี้

ให้เห็

นว่า

พิ

ธี

กรรมบางอย่

างมี

ส่

วนเกี่

ยวข้

องกั

บจารี

ตและกฎเกณฑ์

ตลอดจนความเข้

าใจ

ของท้องถิ่

นในการดูแลรั

กษาทรั

พยากรธรรมชาติ

และการเสริ

มอ�ำนาจของท้องถิ่

ในการมี

ส่วนร่วมจั

ดการทรั

พยากร

ขณะที่

หนั

งสื

อของ ชิ

เกฮารุ

ทานาเบ้

(2547) เรื่

อง

นุ่งเหลือง-นุ่งด�ำ

ได้

วิ

เคราะห์

ให้

เห็

นถึ

งความสามารถของผู้

น�

ำชาวนาในการสร้

างพลั

งอ�

ำนาจของตน