Previous Page  247 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 247 / 272 Next Page
Page Background

246

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ได้

แจกแจงการบ�ำบั

ดรั

กษาด้

วยพิ

ธี

กรรมต่

างๆ ของชาวลี

ซูซึ่

งแตกต่

างกั

นไปตาม

สถานภาพทางเศรษฐกิ

จของครั

วเรื

อน

ส่

วนงานวิ

จั

ยในประเด็

นนี้

ที่

มี

ข้

อถกเถี

ยงเชิ

งแนวคิ

ดที่

น่

าสนใจมากคื

วิทยานิพนธ์

ระดับปริ

ญญาเอกของ Walter Irvine (1982) เรื่อง “The Thai Yuan

‘Madman’, and the Modernising Developing Thai Nation, as Bounded Entities

under Threat: A Study in the Replication of a Single Image” ซึ่

งได้

น�

ำเสนอ

ข้

อถกเถี

ยงส�ำคั

ญที่

ว่

า การเปลี่

ยนแปลงเข้

าสู่

ความทั

นสมั

ยในภาคเหนื

อไม่

ได้

ท�

ำให้

พิ

ธี

กรรมและความเชื่

อท้

องถิ่

นล่

มสลายหายไปทั้

งหมด ตรงกั

นข้

ามคนท้

องถิ่

กลั

บหั

นไปพึ่

งพาความเชื่

อพื้

นบ้

านมากขึ้

น โดยเฉพาะการพึ่

งพาคนทรงผี

เจ้

านาย

จนดูเหมื

อนว่

าพวกเขาเป็

นคนบ้

าไร้

สติ

ไร้

เหตุ

ผล ทั้

งนี้

เพราะพวกเขาต้

องเผชิ

ญกั

บภั

ของความไม่

แน่

นอนในชี

วิ

ตเพิ่

มมากขึ้

น จากผลกระทบที่

ได้

รั

บจากการเปลี่

ยนแปลง

ทางเศรษฐกิ

จดั

งกล่าว

ต่

อจากนั้

นงานวิ

จั

ยจะหั

นมาสนใจภูมิ

ปั

ญญาเกี่

ยวข้

องกั

บยาสมุ

นไพรอยู่

ช่

วงหนึ่

งเช่

นหนั

งสื

อของ ViggoBrun และ Trond Schumacher (1987) เรื่

อง

Traditional

Herbal Medicine in Northern Thailand

ผู้เขียนได้วิเคราะห์การจัดจ�

ำแนก

ประเภทของโรคต่

างๆ ในท้

องถิ่

นและความสั

มพั

นธ์

กั

บยาสมุ

นไพรและการสั่

งยา

ของหมอพื้

นบ้

าน ทั้

งยั

งได้

กล่

าวถึ

งอนาคตของยาสมุ

นไพรที่

ต้

องเผชิ

ญกั

บการแข่

งขั

กั

บยาสมั

ยใหม่ งานชิ้

นนี้

ได้รวบรวมพื

ชสมุนไพรไว้เป็นจ�

ำนวนมากถึ

ง 540 ชนิ

ส่วนงานวิ

จั

ยอี

กชิ้

นหนึ่

งได้แก่บทความของ Amanda Le Grand (1993) เรื่

อง

“Enhancing Appropriate Drug Use: The Contribution of Herbal Medicine Promotion.

A Case Study in Rural Thailand” ผู้

เขี

ยนได้

ศึ

กษาเปรี

ยบเที

ยบการให้

บริ

การ

ยาสมุนไพรในสองแนวทาง ได้

แก่

การใช้

ยาสมุนไพรในสถานพยาบาลของรั

ฐและ

การให้

บริ

การในชุ

มชน และสรุ

ปข้

อค้

นพบว่

าการให้

บริ

การบนฐานชุ

มชนได้

ประสิ

ทธิ

ผลกว่าในการดูแลตนเอง

ในระยะหลั

งงานวิ

จั

ยก็

ได้

หั

นความสนใจมาสู่

การนวดในฐานะภูมิ

ปั

ญญา

การรั

กษาพยาบาลพื้

นบ้

านที่

ส�

ำคั

ญ ดั

งเช่

นวิ

ทยานิ

พนธ์

ระดั

บปริ

ญญาเอกของ