Previous Page  245 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 245 / 272 Next Page
Page Background

244

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ล้

านนานั้นไม่

ใช่

เป็

นเพี

ยงหน่

วยทางนิ

เวศการเมื

องเท่

านั้น หากยั

งเป็

นพื้

นที่

ทาง

พิ

ธี

กรรมและจั

กรวาลวิ

ทยาอี

กด้วย

เช่

นเดี

ยวกั

บบทความของ Shigeharu Tanabe (2000) เรื่

อง “Autochthony and

the Inthakhin Cult of Chiang Mai” ซึ่

งศึ

กษาพิ

ธี

บูชาเสาอิ

นทขี

ล หรื

อเสาหลั

กเมื

องของ

เมื

องเชี

ยงใหม่ และพบว่าเทศบาลนครเชี

ยงใหม่พยายามเข้ามายึ

ดพื้

นที่

ศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

นี้

ไปอนุ

รั

กษ์แทนกลุ่มคนท้องถิ่

น ที่

เคยสื

บทอดประเพณี

มาจากยุ

คเจ้าเมื

องเชี

ยงใหม่

ในอดี

ต โดยเข้

ามาก�

ำกั

บการจั

ดการพิ

ธี

กรรมต่

างๆ ตามคติ

ทางพุ

ทธศาสนามากขึ้

และห้

ามท�

ำพิ

ธี

ตามความเชื่

อในการนั

บถื

อผี

อี

กทั้

งยั

งปรั

บประยุ

กต์

พิ

ธี

บูชา

เสาอินทขีลเพื่อส่

งเสริมการท่

องเที่ยวอีกด้

วย ซึ่งมีส่วนท�

ำให้

พิธีกรรมนี้

ถูกลดทอน

ความหมายในเชิ

งจิ

ตใจลงไป ดั

งนั้

นหลั

งจากเสร็

จสิ้

นพิ

ธี

ฉลองเสาอิ

นทขี

ลแล้

ชาวเมื

องเชี

ยงใหม่

จะย้

ายพิ

ธี

กรรมต่

างๆ ที่

ถูกห้

ามไม่

ให้

ท�

ำนั้

นไปจั

ดท�

ำกั

นใหม่

ที่

บริ

เวณหอผี

ประจ�

ำแจ่งศรี

ภูมิ

เพื่

อช่วงชิ

งพื้

นที่

ศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

ของคนท้องถิ่

นเอาไว้

ขณะที่การศึกษาพิธีกรรมการเข้

าทรงผีเจ้

านายในสังคมเมืองเชียงใหม่ของ

Shigeharu Tanabe (2002) สนใจการเปลี่

ยนสถานภาพและบทบาทของผู้

หญิ

งานของ Rosalind C. Morris (2000, 2002) กลั

บชี้

ให้

เห็

นถึ

งการต่

อสู้

ของกลุ่

มคนเมื

อง

เชี

ยงใหม่

ในความพยายามเข้

าไปมี

ส่

วนก�

ำหนดทิ

ศทางของการพั

ฒนาความเป็

นเมื

อง

ที่

ก�

ำลั

งจะอยู่

นอกเหนื

อการควบคุ

มของพวกเขา ขณะที่

พวกเขาก็

ก�

ำลั

งเปลี่

ยนไป

เป็นปัจเจกชนมากขึ้

น จนเริ่

มจะมองไม่เห็

นความส�

ำคั

ญของพื้

นที่

ส่วนรวม พวกเขา

จึงหันมาบริ

โภคความหมายของการย้อนยุคต่างๆ เพื่

อเสริ

มสร้างพลังของท้

องถิ่น

(ดูเพิ่

มเติ

มประเด็

นนี้

ในบทที่

4) ซึ่

งสอดคล้

องกั

บการศึ

กษาการเข้

าทรง ของ Pattana

Kittiarsa (1999) ในฐานะที่

เป็

นกระแสของวาทกรรมในสั

งคมบริ

โภคนิ

ยมหลั

งสมั

ยใหม่

ในส่

วนของการศึ

กษาเกี่

ยวกั

บความเชื่

อทางศาสนาของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

บนพื้

นที่

สูงนั้

น งานของCornelia Ann Kammerer (1996) ได้

ศึ

กษาเกี่

ยวกั

บความสั

มพั

นธ์

ทางสั

งคมโดยผ่

านการขอพรของชาวอ่

าข่

า; ส่

วนงานของ Patricia V. Symonds (1996)

ศึ

กษาเกี่

ยวกั

บบทบาทของการอวยพรในกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ม้

งในภาคเหนื

อของไทย

อั

นสะท้อนให้เห็

นจั

กรวาลวิ

ทยาของชาวม้ง