Previous Page  242 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 242 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

241

ดั

งตั

วอย่างเช่นงานของ Durrenberger (1981) ในหั

วข้อเรื่

อง “The Southeast

Asian Context of Theravada Buddhism” ได้ศึ

กษาความเชื่

อของชาวพุ

ทธไทยใหญ่

ในหมู่

บ้

านแห่

งหนึ่

งในจั

งหวั

ดแม่

ฮ่

องสอน โดยการเปรี

ยบเที

ยบความคล้

ายคลึ

งและ

แตกต่

างระหว่

างไทยใหญ่

และลี

ซูในการประกอบพิ

ธี

กรรมตามความเชื่

อของตน

อันเป็

นความพยายามอธิ

บายความสั

มพันธ์

ระหว่

างพิ

ธี

กรรมของศาสนาพุ

ทธและ

พิ

ธี

กรรมของความเชื่

อตามประเพณี

หรื

ออี

กนั

ยหนึ่

งคื

อความสั

มพั

นธ์

ระหว่

าง

ประเพณี

ความเชื่

อแบบพื้

นราบและพื้

นที่

สูง

ก่

อนหน้

านั้

น งานเขี

ยนของ Paul Durrenberger (1980) เรื่

อง “Annual Non-Buddhist

Religious Observances of Mae Hong Son Shan” ซึ่

งศึ

กษาหมู่

บ้

านไทยใหญ่

เดี

ยวกั

พบว่

าแม้

ชาวบ้

านทั้

งหมดเป็

นชาวพุ

ทธ แต่

กลั

บยั

งคงยึ

ดถื

อและปฏิ

บั

ติ

ตามความเชื่

ตามประเพณี

และพิ

ธี

กรรมในรอบปี

ที่

ไม่

เกี่

ยวกั

บศาสนาพุ

ทธด้

วยเช่

นเดี

ยวกั

ความสนใจของ Durrenberger ในเวลาต่

อๆ มาก็

ยั

งคงเป็

นเรื่

องที่

เกี่

ยวข้

องกั

ความสั

มพั

นธ์

ระหว่

างความเชื่

อในพุ

ทธศาสนาและความเชื่

อตามประเพณี

อื่

นๆ

ดั

งปรากฏในบทความเรื่

อง “The Shan Rocket Festival: Buddhist and Non-Buddhist

Aspects of Shan Religion” (Durrenberger 1983) ที่

วิ

เคราะห์

คติความเชื่

อต่

างๆ

จากการศึ

กษาประเพณี

บุ

ญบั้

งไฟของชาวไทยใหญ่ในจั

งหวั

ดแม่ฮ่องสอน

งานวิ

จั

ยที่

น่

าสนใจในทศวรรษเดี

ยวกั

นนี้

จะเห็

นได้

จากบทความของ Andrew

Turton (1980) เรื่

อง “The Thai House: Domestication of Ideology” ซึ่

งพยายาม

ถอดรหั

สอุ

ดมการณ์เชิ

งโครงสร้างระดั

บลึ

กที่

มองไม่เห็

นแต่อาจแฝงอยู่ในโครงสร้าง

ของงานศิ

ลป์

บางอย่

าง โดยยกตั

วอย่

างพิ

ธี

กรรมตามความเชื่

อที่

เกี่

ยวข้

องกั

การปลูกเรื

อนและรูปแบบการใช้

พื้

นที่

ภายในครั

วเรื

อนของชาวล้

านนา ด้

วยการ

วิ

เคราะห์

การใช้

พื้

นที่

และความหมายเชิ

งสั

ญลั

กษณ์

ของพื้

นที่

และชี้

ให้

เห็

นถึ

ความสัมพันธ์ทางสังคมและระบบคุณค่า ในเรื่องพลังเหนือธรรมชาติระบบอาวุโส

และความแตกต่างระหว่างเพศหญิ

งและชาย ตลอดจนความส�

ำคั

ญของการมี

บ้าน

กั

บมิ

ติ

อื่

นๆ ของชี

วิ

ตในสั

งคมชุ

มชนท้องถิ่