Previous Page  243 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 243 / 272 Next Page
Page Background

242

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ในช่

วงทศวรรษเดี

ยวกั

นนั้

น Nicola Tannenbaum ก็

เป็

นอี

กผู้

หนึ่

งที่

สนใจศึ

กษา

เกี่

ยวกั

บความเชื่

อของชาวไทยใหญ่

ซึ่

งได้

น�

ำเสนอบทความชื่

อ “Tattoos: Invulnerability

and Power in Shan Cosmology” ในปี

1987 ผู้

เขี

ยนได้

วิ

เคราะห์

ธรรมเนี

ยม

การสั

กร่

างกายว่

าเกี่

ยวข้

องกั

บการปฏิ

บั

ติ

ตนตามแนวทางของศาสนาพุ

ทธและ

ความเชื่อตามประเพณี

ด้วยข้อมูลจากการศึกษาชาวไทยใหญ่ที่นับถือศาสนาพุทธ

ทั้

งในรั

ฐฉาน ประเทศพม่า ประเทศจี

นตอนใต้ และในจั

งหวั

ดแม่ฮ่องสอน

ต่อมาในปี 1988 Tannenbaum ได้น�ำเสนอบทความเรื่

อง “Shan Calendrical

Systems: The Everyday Use of Esoteric Knowledge” ด้วยการศึ

กษาระบบปฏิ

ทิ

ของชาวไทยใหญ่

ที่

เชื่

อมโยงกั

บศาสนาพุ

ทธและการที่

บุ

คคลพั

ฒนาตนขึ้

นมาเป็

ผู้

รู้

การนั

บรอบปฏิ

ทิ

นจนกลายเป็

นพลั

งทางวั

ฒนธรรม ที่

สามารถให้

ค�

ำปรึ

กษา

แก่

คนอื่

นๆ ได้

หลั

งจากนั้

น Tannenbaum ได้

หั

นมาศึ

กษาค�

ำสวดของพระสงฆ์

เกี่

ยวกั

บการปล่อยวาง การท�

ำบุ

ญและผลแห่งบุ

ญ โดยร่วมเขี

ยนกั

บ Durrenberger

ในบทความเรื่

อง “Control, Change, and Suffering: The Messages of Shan Buddhist

Sermons” (Tannenbaum and Durrenberger 1989) เพื่

ออธิ

บายการเข้าถึ

งศาสนาใน

บริ

บทของชาวพุ

ทธไทยใหญ่

โดยชี้

ให้

เห็

นว่

า ค�ำสวดเหล่

านั้นเป็

นอุ

ดมการณ์

ที่

เชื่

อมโยงไปถึ

งมิ

ติ

ทางการปกครองและเศรษฐกิ

จของสั

งคมชาวพุ

ทธเอง ความสนใจ

ศึ

กษาบทสวดต่

างๆ ในพุ

ทธศาสนายั

งมี

การศึ

กษาตามมาอี

กอย่

างต่

อเนื่

อง ดั

งปรากฏ

ในวิ

ทยานิ

พนธ์ของ Justin Thomas McDaniel (2003) และ Daniel Marc Veidlinger

(2002) ซึ่

งสนใจการถ่ายทอดพระธรรมค�

ำสอนผ่านคั

มภี

ร์ภาษาบาลี

นอกจากนั้

น Tannenbaum ยั

งได้

สนใจบทบาทของหมอผี

ทรงในสั

งคมไทยใหญ่

ในภาคเหนื

อ ดั

งจะเห็

นได้จากบทความเรื่

อง “Witches, Fortune, and Misfortune

among the Shan of Northwestern Thailand” (Tannenbaum 1993) โดยอธิ

บายว่า

บทบาทดั

งกล่าวนั้

นมี

ส่วนเกี่

ยวข้องกั

บโลกทั

ศน์ของชาวพุ

ทธไทยใหญ่เอง

ในช่

วงคริ

สตทศวรรษที่

1990 ยั

งมี

ผู้

สนใจศึ

กษาเกี่

ยวกั

บพลั

งความคิ

ทางศาสนาอย่างต่อเนื่

อง เช่น งานเขี

ยนของ Peter Grave (1995) ในบทความเรื่

อง

“Beyond the Mandala: Buddhist Landscapes and Upland-Lowland Interaction in North-