Previous Page  241 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 241 / 272 Next Page
Page Background

240

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ท้

องถิ่

นนิ

ยมที่

มี

เพิ่

มมากขึ้

นในปั

จจุ

บั

น ขณะวิ

ทยานิ

พนธ์

ของ ของสุ

นั

นท์

ไชยสมภาร

(2545) จะเน้นถึงบทบาทของผู้หญิง ที่มีส่วนอย่างส�ำคัญในการสืบทอดความเชื่อ

และพิ

ธี

กรรมต่

างๆ ในภาคเหนื

อ โดยเฉพาะความเชื่

อในการนั

บถื

อผี

ซึ่

งมี

ผู้

หญิ

งเป็

ผู้สื

บทอดตระกูลผี

ปู่ย่า

นอกจากการศึ

กษาพิ

ธี

กรรมแล้

ว งานวิ

จั

ยเกี่

ยวกั

บคติ

ความเชื่

อท้

องถิ่

ส่

วนใหญ่

นั้นมั

กจะศึ

กษารายละเอี

ยดในเนื้

อหาของความเชื่

อในเชิ

งปรั

ชญาและ

ในเชิ

งความเข้

าใจในท้

องถิ่

น เช่

น วิ

ทยานิ

พนธ์

ของ มาณพ มานะแซม (2541) ได้

พยายาม

ตีความคติความเชื่อเรื่องการฟ้อนผีในเชิงปรัชญา และวิทยานิพนธ์ของ ญาวิณีย์

ศรี

วงศ์

ราช (2544) ก็

ศึ

กษาคติ

เรื่

องขวั

ญ จากวรรณกรรมพิ

ธี

กรรมล้

านนาในเชิ

งปรั

ชญา

เช่

นเดี

ยวกั

น ส่

วนงานวิ

จั

ยของ คมเนตร เชษฐพั

ฒนวนิ

ช (2540) ศึ

กษาจารี

ตท้

องถิ่

จากคติ

ความเชื่

อเกี่

ยวกั

บข้

อห้

าม เรื่

อง ขึ

ด ตามความเข้

าใจของคนท้

องถิ่

นเอง

ซึ่

งบ่งบอกถึ

งการให้ความส�

ำคั

ญกั

บพื้

นที่

ส่วนรวม

งานวิ

จั

ยความเชื่

ออี

กกลุ

มหนึ่

งก็

จะมุ

งอธิ

บายถึ

งลั

กษณะเนื้

อหาของ

อุ

ดมการณ์

เชิ

งอ�

ำนาจ หรื

อจั

กรวาลวิ

ทยา หรื

อความเชื่

อที่

ก�

ำหนดความสั

มพั

นธ์

ประเภทต่างๆ เช่น วิ

ทยานิ

พนธ์ของ กรกนก รั

ตนวราภรณ์ (2545) ที่

ศึ

กษาคติ

เกี่

ยว

กับจักรวาลในการวางผังวัดหลวงล้านนา ซึ่งเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่

งที่สะท้อนให้

เห็นถึงอ�ำนาจรัฐในอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี

ยงใต้ ส่วนงานวิจัยของ วรรธนะ

มูลข�

ำ (2545) พยายามจะชี้

ให้

เห็

นว่

าความเชื่

อและพิ

ธี

กรรมต่

างๆ ในเชี

ยงใหม่

มี

ร่องรอยและอิ

ทธิ

พลของคติ

พุ

ทธศาสนามหายานอยู่มาก

ขณะที่งานวิจัยในภาษาไทยจะให้ความสนใจพุทธศาสนาน้อยมาก เพราะ

มี

เพียงวิ

ทยานิ

พนธ์

ของ อุ

ดม ธีรพัฒนานนทกุ

ล (2545) เท่

านั้

น ที่ศึ

กษาบทบาท

ของพระสงฆ์

ในฐานะผู้

เชื่อมความสัมพันธ์

ทางวัฒนธรรมระหว่

างสังคมภาคเหนือ

กั

บรั

ฐฉานของพม่

า แต่

งานวิ

จั

ยในเอกสารภาษาอั

งกฤษกลั

บให้

ความส�

ำคั

ญกั

พุ

ทธศาสนาอย่

างมาก โดยศึ

กษาเพื่

อหาความเชื่

อมโยงกั

บศาสนาของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

อื่

นๆ บนพื้

นที่

สูงด้

วย