Previous Page  214 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 214 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

213

รั

กษาสุ

ขภาพต่

างๆ เช่

น การเต้

นร�

ำเพื่

อออกก�ำลั

งกาย การเล่

นกี

ฬาเปตอง และ

การเล่

นดนตรี

พื้

นเมื

องเป็

นต้

น แม้

ผู้

สูงอายุ

ในกรณี

ศึ

กษานี้

จะรั

บนโยบายดั

งกล่

าวมา

ปฏิบัติอยู่บ้างก็ตาม แต่พวกเขายังได้ปรับเปลี่ยนและริเริ่มพิธีกรรมขึ้นมาใหม่ด้วย

ซึ่

งแตกต่

างจากพิ

ธี

ที่

เคยสื

บทอดมาจากอดี

ต และไม่

ใช่

การสั่

งการลงมาจากภาครั

กล่าวคื

อแทนที่

พวกเขาจะเล่นดนตรี

พื้

นเมื

องหรื

อเต้นร�

ำออกก�

ำลั

งกายเท่านั้

น พวก

เขาก็

ปรั

บให้

เป็

นการร้

องเพลงและเต้

นร�

ำเพื่

อบูชาผี

อารั

กษ์

ซึ่

งแสดงถึ

งความพยายาม

ในการนิยามตั

วตนของตนเอง แทนการถูกนิ

ยามจากรั

ฐฝ่ายเดี

ยว ทั้

งนี้

ก็

เพื่

อช่วงชิ

พื้

นที่

สั

งคมตามที่

พวกเขาจะสามารถก�

ำหนดได้เอง

นอกจากมิ

ติ

ของปัญหาสุ

ขภาพต่างๆ แล้ว ปัญหาแรงงานก็

เป็นอี

กมิ

ติ

หนึ่

ที่

เกี่

ยวข้

องกั

บวั

ฒนธรรมและการพั

ฒนา เพราะเชื่

อมโยงอยู่

กั

บการเมื

องของ

อั

ตลั

กษณ์

ในการช่

วงชิ

งพื้

นที่

ของสั

งคมสมั

ยใหม่

เช่

นเดี

ยวกั

แต่

อาจกล่

าวได้

ว่

การศึ

กษาวิจัยเชิ

งลึกยั

งอยู่

ในระยะเริ่

มต้

นและยังมีจ�

ำนวนไม่

มากนั

ก ส�

ำหรั

บงาน

วิ

จั

ยที่

น่าสนใจชิ้

นแรกๆ เรื่

อง “Exhibition of power: factory women’s use of the

housewarming ceremony in a northern Thai village” (Hirai 2002) ได้

ศึ

กษา

คนงานหญิ

งสาวในโรงงานภายในนิคมอุ

ตสาหกรรม จั

งหวั

ดล�

ำพูน และพบว่

คนงานหญิ

งสาวเหล่

านี้

มี

ความกระตื

อรื

อร้

นในการสร้

างอั

ตลั

กษณ์

ของตนเอง

อย่างมาก หลั

งจากมี

รายได้อย่างมั่

นคงและสม�่

ำเสมอจากการท�

ำงานในโรงงาน

ทั้

งนี้

ฮิ

ราอิ

ได้

เลื

อกศึ

กษาเจาะลึ

กลงไปในกรณี

การจั

ดงานขึ้

นบ้

านใหม่

ที่

สาวโรงงานสร้

างให้

พ่

อแม่

ของพวกเธอ โดยมั

กจะจั

ดพิ

ธี

ตามจารี

ตแบบเดิ

มใน

ช่

วงเช้

า แต่

พวกเธอจะยอมทุ

มเงิ

นจ�

ำนวนมาก เพื่

อความบั

นเทิ

งอย่

างสุ

ดเหวี่

ยง

ส�

ำหรั

บการกิ

นเลี้

ยงในช่

วงเย็

น ซึ่

งฮิ

ราอิ

ได้

วิ

เคราะห์

ไว้

ว่

า เหตุ

ผลเบื้

องหลั

งการ

ทุ

มเทเงิ

นทองอย่

างมากมายเช่

นนั้น ก็

เพื่

อจะแสดงถึ

งเกี

ยรติ

ภูมิ

ในความส�

ำเร็

ทางเศรษฐกิ

จ และที่

ส�

ำคั

ญยิ่

งกว่

านั้

นก็

คื

อ ความต้

องการจะแสดงว่

าพวกเธอมี

อิ

สระ

จากจารีตนิ

ยม ที่

มั

กจะควบคุ

มพฤติ

กรรมของหญิ

งสาวอย่างเข้มงวด (Hirai 2002:

198-200) ความส�

ำเร็

จทางเศรษฐกิ

จและอิ

สรภาพจากจารี

ตนิ

ยมจึ

งอาจถื

อได้

ว่

เป็

นทั้

งอั

ตลั

กษณ์

และพื้

นที่

ทางสั

งคมที่

หญิ

งสาวต้

องการต่

อรองและช่

วงชิ

ง ในฐานะ