งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
209
ซึ่
งถูกน�
ำไปใช้
กล่
าวหาและตี
ตรากลุ่
มผู้
ติ
ดเชื้
อเอชไอวี
ขณะที่
โรคร้
ายนี้
กลั
บขยายตั
ว
ไปอย่างกว้างขวาง จนแทบจะไร้ทางออก ในบริ
บทดั
งกล่าวก็เริ่
มมี
งานวิ
จั
ยในช่วง
ปลายทศวรรษที่
2530 ซึ่
งพยายามต่อยอดความรู้ข้างต้น ด้วยการเชื่
อมโยงปัญหา
การพัฒนาสุขภาพกับมิติด้านวัฒนธรรมได้อย่างน่าสนใจ โดยพบว่ากลุ่มผู้ติดเชื้อ
ต่างๆ ไม่ได้ยอมจ�
ำนนต่อทั้งโรคและการครอบง�
ำจากสังคม แต่กลับหันมาช่วงชิง
พื้
นที่
ทางวั
ฒนธรรม ผ่
านการเมื
องของอั
ตลั
กษณ์
อย่
างหลากหลาย แทนการหา
ทางออกเฉพาะในด้านชี
วภาพเท่านั้
น
งานวิ
จั
ยดั
งกล่
าวที่
น่
าสนใจเรื่
องหนึ่งก็
คื
อ
รายงานการวิจัยการรักษา
ผู้ติดเชื้อเอดส์ด้วยการปฏิบัติธรรม: ศึกษากรณีวัดดอยเกิ้ง อ�ำเภอแม่สะเรียง
จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ของ จิ
ราลั
กษณ์
จงสถิ
ต์
มั่
น (2538) ซึ่
งพบว่
าผู้
ติ
ดเชื้
อเอดส์
ไม่
ได้
พึ่
งพาการแพทย์
สมั
ยใหม่
อย่
างเดี
ยว หากยั
งดิ้
นรนต่
อสู้
ด้
วยตั
วเอง และหั
นมาแสวงหา
แนวทางการรั
กษาพยาบาลทางเลื
อกแบบอื่
นๆ ผ่
านการคิ
ดค้
นด้
านพิ
ธี
กรรมของ
พระสงฆ์
ในพุ
ทธศาสนา เช่
น การท�
ำสมาธิ
หมุ
น เพื่
อเสริ
มจิ
ตใจให้
เข้
มแข็
ง นอกจากนั้
น
ผู้
ติ
ดเชื้
อเอดส์
ยั
งพยายามผสมผสานภูมิ
ปั
ญญาพื้
นบ้
านอื่
นๆ อี
กมากมายในการ
ดูแลตั
วเอง ดั
งตั
วอย่
างในงานวิ
จั
ยของรั
งสรรค์
จั
นต๊
ะ (2544) เรื่
อง
ภูมิปัญญา
พื้นบ้าน: มิติทางวัฒนธรรมในการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ใน
ภาคเหนือประเทศไทย
ในระยะต่
อมาเมื่
อผู้
ติ
ดเชื้
อเอดส์
สามารถรวมตั
วกั
นเป็
นกลุ
่
มช่
วยเหลื
อ
ตนเองขึ้นมาแล้ว ยังได้หันไปพึ่งพาวัฒนธรรมความเชื่อพื้นบ้านอื่นๆ แม้แต่พึ่งพา
การเข้าทรง ดั
งจะพบได้ในกรณี
ศึ
กษาของชิ
เกฮารุ
ทานาเบ เรื่
อง “Suffering and
negotiation: spirit-mediumship and HIV/AIDS self-help groups in Northern Thailand”
(Tanabe 1999) ทั้
งนี้
เพื่
อปรั
บความสั
มพั
นธ์ระหว่างกายกั
บใจให้มั่
นคง ในฐานะเป็น
ช่
องทางในการต่
อสู้
กั
บความทุ
กข์
ทรมานจากความเจ็
บป่
วยด้
วยตั
วเอง แทนการ
พึ่
งพาการแพทย์
สมั
ยใหม่
ซึ่
งผู้
ติ
ดเชื้
อจ�
ำนวนมากยั
งเข้
าไม่
ถึ
ง ขณะเดี
ยวกั
นก็
เท่
ากั
บ
เป็
นการต่
อรองกั
บอ�
ำนาจของการแพทย์
สมั
ยใหม่
ที่
ใช้
วาทกรรมและการปฏิ
บั
ติ
การ
ที่
มุ่งควบคุ
มชี
วิ
ตและสุ
ขภาพเป็นหลั
ก ด้วยเหตุ
นี้
เองการพึ่
งตั
วเองจึ
งช่วยเสริ
มพลั
ง