Previous Page  211 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 211 / 272 Next Page
Page Background

210

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ให้ผู้ติ

ดเชื้

อเอดส์สามารถต่อรองกั

บสั

งคมรอบๆ ข้าง และกลุ่มต่างๆ ที่

เกี่

ยวข้องกั

พวกเขาได้อี

กด้วย

การดิ้

นรนต่

อสู้

ของผู้

ติ

ดเชื้

อเอดส์

ดั

งกล่

าว จึ

งไม่

ใช่

เป็

นเพี

ยงการลดความ

ทุ

กข์

ทรมานจากความเจ็

บป่

วยเท่

านั้น หากยั

งเกี่

ยวข้

องกั

บการสร้

างตั

วตนหรื

อัตลักษณ์ใหม่ เพื่อต่อรองกับการถูกตีตราด้วยภาพอคติจากสังคมภายนอก และ

การด�

ำรงชี

วิ

ตอยู่

ร่

วมกั

บคนอื่

นในชุ

มชน แทนการปกปิ

ดอั

ตลั

กษณ์

ของตนเอง

เช่

นในอดี

ต ดั

งจะเห็

นได้

จากวิ

ทยานิ

พนธ์

ของ มธุ

รส ศิ

ริ

สถิ

ตกุ

ล (2544) เรื่

อง ‘การเมื

อง

ในอั

ตลั

กษณ์

ของกลุ่

มผู้

ติ

ดเชื้

อเอชไอวี

ในจั

งหวั

ดเชี

ยงใหม่

’ ซึ่

งพบว่

า ผู้

ติ

ดเชื้

อเอชไอ

วีจะพยายามสร้างและปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ของตนอยู่เสมอ เพื่อให้ลื่นไหลไปได้

ตามสถานการณ์

แทนการยึ

ดติ

ดอยู่

กั

บอั

ตลั

กษณ์

ใดอั

ตลั

กษณ์

หนึ่

งเท่

านั้

น เริ่

มตั้

งแต่

การแสดงตั

วตนว่

าเป็

นคนธรรมดาที่

ดี

และไม่

ประพฤติ

ผิ

ดศี

ลธรรม ด้

วยการเข้

าร่

วม

งานในชุ

มชนและท�

ำบุ

ญเข้

าวั

ดอย่

างสม�่

ำเสมอ บางครั้

งก็

แสดงตั

วตนว่

าเป็

นคนป่

วย

ที่

ต้

องการความช่

วยเหลื

อ เพราะประสบเคราะห์

กรรม และท้

ายที่

สุ

ดก็

ยั

งแสดงตั

วตน

ในฐานะคนใกล้

ชิ

ดผู้

น�

ำบารมี

ของชุ

มชน เพื่

อให้

สามารถจั

ดความสั

มพั

นธ์

กั

บคนกลุ

ต่างๆ ในชุ

มชนได้เท่าที่

เงื่

อนไขจะเอื้

ออ�

ำนวยให้มากที่

สุ

ในงานวิ

จั

ยอี

กชิ้

นหนึ่

งของ ชิ

เกฮารุ

ทานาเบ จากหนั

งสื

อเรื่

อง

ชุมชนกับการ

ปกครองชีวญาณ: กลุ่มผู้ติดเชื้อเอชไอวีในภาคเหนือของไทย

(ทานาเบ 2551)

เขาได้

เริ่

มน�

ำแนวคิ

ดว่

าด้

วย ‘การปกครองชี

วญาณ’ ของฟูโกต์

มาช่

วยในการวิ

เคราะห์

การรวมตั

วกั

นของผู้

ติ

ดเชื้

อเอชไอวี

เพื่

อตั้

งขึ้

นเป็

นกลุ่

มช่

วยเหลื

อตั

วเอง และสามารถ

ขยายเครื

อข่

ายออกไปอย่

างกว้

างขวางทั้

งในเมื

องและชนบท ผ่

านการอภิ

ปราย

ถกเถี

ยงว่

า ในฐานะที่

ผู้

ติ

ดเชื้

อเอชไอวี

เป็

นผู้

ต้

องอยู่

กั

บความทุ

กข์

ทรมาน พวกเขาจึ

ต้

องแสวงหาลู่

ทางต่

างๆ ในการสร้

าง ‘ชุ

มชนปฏิ

บั

ติ

การ’ ขึ้

นมา ชุ

มชนเช่

นนี้

จะต่

างจาก

ชุ

มชนที่

ผูกติ

ดอยู่

กั

บพื้

นที่

แบบดั้

งเดิ

ม เพราะก่

อตั

วขึ้

นมาจากความต้

องการปรั

ความสั

มพั

นธ์

กั

บสั

งคมภายนอก โดยการก�ำกั

บและควบคุ

มตนเอง ตามแนวคิ

ดการ

ปกครองชีวญาณ ด้วยการปฏิบัติการในการเรียนรู้ที่จะผสมผสานความรู้ชุดต่างๆ

มาช่วยในการจั

ดการตนเอง ทั้

งการควบคุ

มการกิ

นอาหาร การกิ

นยาสมุ

นไพร และ