200
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
การช่วงชิงพื้นที่ทางวัฒนธรรมกรณี
ต่อมาก็คือ ลานวัฒนธรรมหรือ “ข่วง”
ในภาษาค�ำเมือง และพื้นที่ส�ำคัญสถานที่หนึ่
งก็คือข่วงวัด จากบทความวิจัยเรื่อง
“Reinventing religious land as urban open space: the case of
kuang
in Chiang Mai
(Thailand)” (Samadhi and Niwat 2006) ช่วยฉายให้เห็
นถึ
งความพยายามของการ
พั
ฒนาสั
งคมเมื
องสมั
ยใหม่
ที่
จะเข้
ามาช่
วงชิ
งการใช้
ประโยชน์
พื้
นที่
นี้
ในปั
จจุ
บั
น
ภายใต้แนวความคิ
ดเชิ
งยุ
ทธศาสตร์ในการปรั
บปรุงผั
งเมื
อง ด้วยการรื้
อฟื้น “พื้
นที่
สาธารณะแบบเปิดของสังคมเมือง” ให้
เป็นพื้นที่ลูกผสมระหว่
างพื้นที่ทางศาสนา
และสั
นทนาการ ซึ่
งเท่
ากั
บเปลี่
ยนแปลงความหมายของข่
วง เพื่
อตอบสนองต่
อความ
ต้องการของความเป็
นเมืองสมัยใหม่
มากขึ้น แม้
จะยังคงค�
ำนึ
งถึงความปรารถนา
และความทรงจ�
ำของคนท้องถิ่
นอยู่ก็
ตาม (Samadhi and Niwat 2006: 887-889)
แต่
การพั
ฒนาพื้
นที่
ทางวั
ฒนธรรมตามแนวความคิ
ดของความเป็
นเมื
อง
สมั
ยใหม่
ดั
งกล่
าว อาจจะไปลดทอนความหมายที่
ซั
บซ้
อนและลื่
นไหลของคนท้
องถิ่
น
ลงไป จนกลายเป็
นพื้
นที่
ที่
มี
ความหมายหยุ
ดนิ่
งและตายตั
วเกิ
นไป พร้
อมทั้
งลดทอน
อ�ำนาจในการนิยามความหมายของพื้นที่ของคนท้องถิ่นลงไปอีก ด้วยเหตุนี้เองจึง
มั
กจะมี
การช่
วงชิ
งความหมายของพื้
นที่
ทางวั
ฒนธรรมอยู่
เสมอๆ ภายใต้
บริ
บทของ
การเปลี่ยนแปลงสังคมเมืองตามช่
วงเวลาที่
แตกต่
างกั
น ดั
งกรณีศึกษาการช่วงชิง
ความหมายของข่
วงอนุ
สาวรี
ย์
สามกษั
ตริ
ย์
ของเมื
องเชี
ยงใหม่
ในงานวิ
จั
ยอี
กชิ้
นหนึ่
ง
ของ จอห์นสั
น เรื่
อง “Re-centering the city: spirit, local wisdom, and urban design
at the Three Kings Monument of Chiang Mai” (Johnson 2011) ซึ่
งศึ
กษาวาทกรรม
ของสถาปนิ
กและคนทรงที่เกี่ยวข้องกับข่วงอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ และพบว่าพื้นที่
วั
ฒนธรรมดั
งกล่
าวได้
กลายเป็
นพื้
นที่
ของการต่
อสู้
และช่
วงชิ
งความหมายอย่
าง
เข้
มข้
น เพราะยึ
ดโยงอยู่
กั
บความคิ
ดของพลั
งอ�
ำนาจต่
างๆ ทางด้
านศาสนาและ
ไสยศาสตร์อย่างมากมาย
ในความเข้
าใจของจอห์
นสั
น (Johnson 2011: 522-524) แล้
ว เขาเห็
นว่
า
ภายใต้
วิ
กฤตต่
างๆ ในการพั
ฒนาสั
งคมเมื
องเชี
ยงใหม่
หลั
งเหตุ
การณ์
รั
ฐประหารใน
ปี
2549 และความขั
ดแย้
งทางการเมื
องที่
ตามมา สถาปนิ
กและคนทรงส่
วนมากจึ
งรู้
สึ
ก