งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
201
เป็
นห่
วงเมื
องเชี
ยงใหม่
ที่
ก�
ำลั
งจะสูญเสี
ยความเป็
นศูนย์
กลางทางด้
านจิ
ตวิ
ญญาณ
พร้อมทั้งต้องการปลุกขวัญของเมืองให้มีพลังกลับมารุ่งเรืองใหม่ และขับไล่ความ
อุ
บาทว์
ชั่
วร้
ายออกไปด้
วย แม้
รั
ฐไทยจะเป็
นผู้
สร้
างอนุ
สาวรี
ย์
สามกษั
ตริ
ย์
ขึ้
นมา
เพื่
อสถาปนาอ�
ำนาจของตน ด้
วยความคิ
ดในการรั
กษามรดกทางวั
ฒนธรรมไว้
ก็
ตาม แต่คนทรงก็
มาท�
ำพิ
ธี
เข้าทรงตรงพื้
นที่
นี้
เพื่
อระลึ
กถึ
งความเป็นชายขอบของ
เมื
องเชี
ยงใหม่
และพยายามจะเปลี่
ยนให้
กลั
บไปเป็
นศูนย์
กลางอี
กครั้
ง ด้
วยการ
เสริ
มสร้างอ�
ำนาจศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
ให้กั
บอนุ
สาวรี
ย์สามกษัตริ
ย์ เพื่
อให้มี
บารมี
คุ้มครองคน
ในเมื
องทั้
งหลาย ซึ่
งแสดงถึ
งความพยายามของคนทรงในการช่
วงชิ
งความหมาย
จากการที่
รั
ฐไทยเปลี่
ยนให้
อนุ
สาวรี
ย์
สามกษั
ตริ
ย์
กลายเป็
นเพี
ยงมรดกทาง
วั
ฒนธรรม ด้
วยการช่
วงชิ
งให้
กลั
บมาเป็
นสิ่
งศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
อี
กครั้
งนั่นเอง (Johnson
2011: 521-522) ปฏิ
บั
ติ
การของคนทรงดั
งกล่าวแสดงถึ
งการต่อสู้เพื่
อส่วนรวมในเชิ
ง
วาทกรรมด้วย โดยไม่ได้ผูกติ
ดอยู่กั
บการแก้ปัญหาของปัจเจกชนเท่านั้
น
จอห์นสั
น ยั
งวิ
เคราะห์ต่อไปอี
กว่า ในกรณี
ของสถาปนิ
กและนั
กผั
งเมื
องนั้
น
พวกเขามองไม่เห็นความส�ำคัญของคติด้านจิตวิญญาณของคนทรง และในทัศนะ
แบบชนชั้
นกลางของพวกเขาก็
ยั
งไม่
ยอมรั
บการเข้
าทรงว่
าเป็
นส่
วนหนึ่
งของมรดก
ทางวั
ฒนธรรมล้
านนา แต่
พวกเขาก็
หั
นไปหาอ�ำนาจเหนื
อธรรมชาติ
ที่
มองไม่
เห็
น
เช่
นเดี
ยวกั
นกั
บคนทรง ด้
วยการมองวั
ฒนธรรมในเชิ
งที่
เป็
นอ�ำนาจ ในความพยายาม
จะแก้วิ
กฤตต่างๆ ของการพั
ฒนาสั
งคมเมื
องเชี
ยงใหม่ และต่อต้านกระแสของการ
พั
ฒนาพื้
นที่
ของเอกชน ผ่
านวาทกรรมต่
อต้
านโลกาภิ
วั
ตน์
ว่
าสร้
างปั
ญหาต่
างๆ
มากมาย พร้
อมๆ กั
บผลั
กดั
นกระบวนการรื้
อฟื
้
นพื้
นที่
สาธารณะและภูมิ
ปั
ญญา
ท้
องถิ่
น ด้
วยการย้
อนกลั
บไปหาความหมายของอดี
ต โดยมุ
่
งความสนใจไปที่
ข่วงอนุสาวรีย์สามกษัตริย์เช่
นเดียวกันกับคนทรง แต่เสนอให้ออกแบบพื้นที่รอบๆ
ข่วงใหม่ เพื่
อให้กลั
บมาเป็นศูนย์กลางของความเป็นเมื
องที่
รุ่งเรื
องอี
กครั้
งหนึ่
ง ซึ่
งก็
เป็นแนวทางท�ำนองเดียวกันกับการช่วงชิงความศักดิ์สิทธิ์คืนให้เมืองในปฏิบัติการ
ของคนทรงเช่นเดี
ยวกั
น (Johnson 2011: 525-531)