งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
205
ตี
พิ
มพ์
เป็
นบทความเรื่
อง “Dek inter and the “other” Thai youth subculture in urban
Chiang Mai” (Cohen 2009) หลั
งจากการวิ
จั
ยเกี่
ยวกั
บการขยายตั
วของสั
งคมเมื
อง
เชี
ยงใหม่
ทางเศรษฐกิ
จและการท่
องเที่
ยว โคเฮนได้
ค้
นพบว่
า การเปลี่
ยนแปลง
ดังกล่าวส่งผลให้วัฒนธรรมการบริ
โภคเติบโตมากขึ้น โดยเฉพาะศูนย์การค้าต่างๆ
ได้
กลายเป็
นพื้
นที่
สาธารณะส�
ำหรั
บการแสดงตั
วตนของวั
ยรุ
่
น คนกลุ
่
มนี้
มาจาก
ชนบทเพื่
อจะมาเรี
ยนหนั
งสื
อหรื
อท�
ำงานในเมื
องเชี
ยงใหม่
และพั
กอยู่
ตามหอพั
กต่
างๆ
การมาใช้ชีวิตและมีประสบการณ์อยู่ในสังคมเมืองด้วยตัวเองท�
ำให้มีอิสระและอยู่
เหนื
อการควบคุ
มของพ่
อแม่
แต่
พวกเขาก็
รู้
สึ
กผิ
ดที่
ผิ
ดทางและตั
ดขาดจากชุ
มชนของ
ตนในชนบท เพราะต้
องเผชิ
ญกั
บประสบการณ์
ที่
ก�
ำกวมและถูกกี
ดกั
นต่
างๆ เนื่
องจาก
สถานะของความเป็
นเด็
กชายขอบ และยั
งต้
องตกอยู่
ภายใต้
แรงกดดั
นระหว่
างจารี
ต
และความเป็
นสมั
ยใหม่
อีกด้
วย ในความพยายามที่
จะปรั
บตั
วกั
บสภาวะดั
งกล่
าว
วั
ยรุ
่
นกลุ
่
มนี้
จึ
งพยายามจะสร้
างชุ
มชนเชิ
งสั
ญลั
กษณ์
ของตนขึ้
นมาใหม่
ด้
วยการ
สร้างขอบเขตและตัวตนของพวกเขา ผ่านวัฒนธรรมย่อยต่างๆ ขึ้นมาให้เป็นพื้นที่
ของพวกเขาเอง (Cohen 2009: 163- 168)
ตั
วอย่
างที่
โคเฮนพบก็
เช่
นกรณี
ของวั
ยรุ
่
นกลุ
่
มหนึ่
งเรี
ยกวั
ฒนธรรมย่
อยของ
พวกเขาว่
าเป็
น “เด็
กอิ
นเตอร์
” เพราะการท�ำตามอย่
างวั
ฒนธรรมวั
ยรุ่
นในระดั
บโลก
เพื่
อแสดงตนเป็
นคนทั
นสมั
ย ซึ่
งสะท้
อนการบริ
โภควั
ฒนธรรมแบบชนชั้
นกลางใน
เมื
อง ที่
ยั
งสามารถแยกลงไปได้
อี
กหลายกลุ่
มวั
ฒนธรรมย่
อย ตามรสนิ
ยมการบริ
โภค
วัฒนธรรมสมัยใหม่ที่แตกต่างกัน เช่น เด็กไบค์ เด็กบีบอย และเด็กพังค์ เป็นต้น
การสร้
างกลุ่
มวัฒนธรรมเชิ
งสั
ญลักษณ์
เช่
นนี้
อาจถื
อได้
ว่
าเป็
นการช่
วงชิ
งพื้
นที่
ทาง
วั
ฒนธรรมอย่างหนึ่
ง ในการแยกแยะตนเองออกจากภาพด้านลบของการถูกตี
ตรา
ว่าเป็น “เด็
กแสบ” ที่
ถูกจั
ดให้เป็นพวกไม่รู้จั
กโต มี
ปัญหาและเป็นอั
นธพาลที่
ชอบ
ความรุ
นแรง ซึ่
งมี
นั
ยว่
าป่
าเถื่
อนและด้
อยการศึ
กษา ที่
อาจจะถื
อว่
าเป็
นส่
วนหนึ่
ง
ของผลกระทบด้านลบของปัญหา ในการเปลี่
ยนผ่านของการพั
ฒนาไปสู่ความเป็น
สั
งคมเมื
องด้านหนึ่
ง (Cohen 2009: 168- 177)