Previous Page  198 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 198 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

197

ผู้

คนก็

มั

กจะพอใจอยู่

กั

บของเลี

ยนแบบมากกว่

าของจริ

งและเปลื

อกนอกมากกว่

สาระ มายาภาพจึ

งกลายสภาพเป็นเรื่

องของความศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

เข้ามาแทนที่

การศึกษาพิธีกรรมในการเข้าทรงผีเจ้านายในสังคมเมืองเชียงใหม่ดังกล่าว

ของ มอร์

ริ

ส ได้

ชี้

ให้

เห็

นถึ

งการดิ้

นรนต่

อสู้

ของกลุ

มคนในสั

งคมเมื

องบางส่

วน ซึ่

พยายามตอบโต้

กั

บทิ

ศทางของการพั

ฒนาความเป็

นเมื

องในปั

จจุ

บั

น ที่

มั

กจะอยู่

นอกเหนือการควบคุมของพวกเขามากขึ้นทุกที ขณะที่ยังเปลี่ยนแปลงให้พวกเขา

เป็นปัจเจกชนมากขึ้นอีกด้วย จนเริ่มจะมองไม่เห็นความส�

ำคัญของพื้นที่ส่วนรวม

มากนั

ก พวกเขาจึ

งหั

นมาช่

วงชิ

งพื้

นที่

ทางวั

ฒนธรรม ที่

อาจจะยั

งอยู่

ในความควบคุ

ของพวกเขาอยู่

บ้

าง เพื่

อช่

วยให้

พวกเขาสามารถบริ

โภคความหมายของการย้

อนยุ

ได้อย่างไร้ขี

ดจ�

ำกั

แต่

ในความเป็

นจริ

งแล้

ว พื้นที่

ทางวั

ฒนธรรมและพื้

นที่ศั

กดิ์

สิทธิ์เองก็

ไม่

ได้

รอดพ้

นจากการถูกช่

วงชิ

งเช่

นเดี

ยวกั

น ดั

งตั

วอย่

างจากกรณี

ศึ

กษาเรื่

อง “ชนพื้

นเมื

อง

กั

บความเชื่

อเรื่

องเสาอิ

นทขี

ลแห่

งเชี

ยงใหม่

” ของชิ

เกฮารุ

ทานาเบ (2553) ซึ่

งศึ

กษาพิ

ธี

บูชาเสาอิ

นทขี

ล ที่

เปรี

ยบเสมื

อนเป็

นเสาหลั

กเมื

องของเมื

องเชี

ยงใหม่

และค้

นพบว่

ในปั

จจุ

บั

นนี้

รั

ฐท้

องถิ่

นหรื

อเทศบาลนครเชี

ยงใหม่

ได้

ยึ

ดพื้

นที่

ศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

นี้

ไปอนุ

รั

กษ์

แทนกลุ

มคนท้

องถิ่

น ที่

เคยสื

บทอดประเพณี

มาจากยุ

คเจ้

าเมื

องเชี

ยงใหม่

ในอดี

ด้วยการเข้ามาก�ำกับการจัดการพิธีกรรมต่างๆ ตามคติทางพุทธศาสนามากยิ่งขึ้น

เพื่อแสดงอ�ำนาจรัฐผ่านการตอกย�้

ำความเป็นพุทธของแท้ และห้ามไม่ให้ท�

ำพิธีใน

อดี

ตบางอย่

าง โดยเฉพาะการฆ่

าสั

ตว์

บูชายั

ญและการเข้

าทรง ซึ่

งเคยมี

ส่

วนช่

วย

สร้างความชอบธรรมให้กับเจ้าเมือง (ทานาเบ 2553: 92-93) อีกทั้งในระยะหลังๆ

มานี้

เทศบาลและจั

งหวั

ดยั

งปรั

บประยุ

กต์

พิ

ธี

บูชาเสาอิ

นทขี

ลเพื่

อส่

งเสริ

มการ

ท่

องเที่

ยวอี

กด้

วย ซึ่

งมี

ส่

วนท�

ำให้

พิ

ธี

กรรมนี้

ถูกลดทอนความหมายในเชิ

งสั

ญลั

กษณ์

ลงไป และกลายเป็นเพี

ยงวั

ตถุ

เพื่

อการบริ

โภคเท่านั้

น (ทานาเบ 2553: 95-96)

ในการต่

อรองกั

บอ�

ำนาจจากภายนอกดั

งกล่

าว หลั

งจากเสร็

จสิ้

นพิ

ธี

ฉลอง

เสาอินทขีลแล้

ว คนพื้

นเมืองจะย้

ายพิ

ธีกรรมต่

างๆ ที่

ถูกห้

ามไม่

ให้

ท�

ำนั้

นไปจั

ดท�

กันใหม่บริเวณหอผีประจ�

ำแจ่งศรีภูมิ ซึ่งอยู่ตรงมุมเมืองด้านตะวันออกเฉี

ยงเหนือ