Previous Page  196 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 196 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

195

จนท�

ำให้

การพั

ฒนาความเป็

นเมื

องเริ่

มตั

ดขาดจากอดี

ตและหลงทางไปมากขึ้

เรื่

อยๆ ดั

งมาปรากฏเป็นปัญหาขึ้

นอย่างชั

ดมากในช่วงทศวรรษ 2530 เมื่

อกลุ่มคน

ในเมื

องเชี

ยงใหม่

ส่

วนหนึ่

งลุ

กขึ้

นคั

ดค้

านโครงการสร้

างกระเช้

าไฟฟ้

าขึ้

นดอยสุ

เทพ

เพราะเห็นว่าจะไปท�ำลายความศักดิ์สิทธิ์และความงดงามของพระธาตุดอยสุเทพ

จึ

งช่

วยกระตุ้

นให้

นั

กวิ

ชาการหั

นมาศึ

กษาความเป็

นเมื

องในเชิ

งวั

ฒนธรรมกั

นอยู่

บ้

าง

ในระยะต่อๆ มา

ดั

งตั

วอย่

างบทความวิ

จั

ยเรื่

อง “The cosmology of power in Lanna” ( Rhum 1987)

ซึ่

งศึ

กษาพิ

ธี

ไหว้

ผี

ปู่

แสะย่

าแสะแห่

งเมื

องเชี

ยงใหม่

และสรุ

ปการวิ

เคราะห์

ไว้

ว่

ความเป็

นเมื

องของล้

านนานั้

นไม่

ใช่

เป็

นเพี

ยงหน่

วยทางนิ

เวศการเมื

องเท่

านั้

น หากยั

เป็

นพื้

นที่

ทางพิ

ธี

กรรมและจั

กรวาลวิ

ทยาด้

วย ซึ่

งสอดคล้

องกั

บความคิ

ดในบทความ

เรื่

อง “The northern Thai city as sacred center” (Swearer 1987) ที่

เห็

นว่าเมื

องใน

ล้

านนาเป็

นศูนย์

กลางของความศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

ซึ่

งผูกโยงอยู่

กั

บความหมายและความเชื่

ต่

างๆ อย่

างมากมาย ที่

เกี่

ยวข้

องกั

บความเป็

นศูนย์

กลางของเขาพระสุ

เมรุ

ใน

ปริ

มณฑลของอ�

ำนาจตามคติ

จากวั

ฒนธรรมอิ

นเดี

ก่อนหน้านั้

นในบทความเรื่

อง “Decline of village spirit cults and growth

of urban spirit mediumship: the persistence of spirit beliefs, the position of

women and modernization” (Irvine 1984) วอลเตอร์ เออร์วาย ก็

เคยตั้

งข้อสั

งเกตไว้

เช่

นเดี

ยวกั

นว่

า ในช่

วงที่

มี

การพั

ฒนาเมื

องเชี

ยงใหม่

อย่

างรวดเร็

วนั้

นปรากฏว่

าจ�

ำนวน

คนทรงผี

เจ้

านายมื

ออาชี

พเพิ่

มมากขึ้

น ทั้

งๆ ที่

การนั

บถื

อผี

ในชนบทกลั

บลดลง เพราะ

คนในสั

งคมเมื

องหั

นหน้าไปพึ่

งพาบริ

การด้านพิ

ธี

กรรมของคนทรงอาชี

พเหล่านี้

แต่

เออร์

วาย ก็

เสนอความคิ

ดไว้

ด้

วยเช่

นเดี

ยวกั

นว่

า การหั

นกลั

บไปหาพิ

ธี

กรรมดั

งกล่

าว

มีลักษณะหลายอย่างแตกต่างไปจากพิธีกรรมในอดีต เช่น การผสมผสานคติทาง

พุ

ทธศาสนาเข้

าไป เพื่

อเสริ

มสถานภาพของคนทรงให้

มี

อ�

ำนาจพอที่

จะรั

บมื

อกั

ปั

ญหาของคนในสั

งคมเมื

อง ที่

มุ

งจะพึ่

งพาพิ

ธี

กรรมเพื่

อช่

วยแก้

ปั

ญหาความไม่

มั่

นคง

ในชี

วิ

ตด้

านเศรษฐกิ

จและอาชี

พการงานของความเป็

นปั

จเจกชน ซึ่

งเป็

นผลที่

ตามมา

จากการพั

ฒนาให้ทั

นสมั

ยในช่วงก่อนหน้านั้