งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
19
หลังจากนั้
นผู้เขียนบทความจึงหันมาปูพื้นฐานส�
ำหรับการทบทวนแนวทาง
ในการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ เริ่มจากในระยะแรกๆ มักจะสนใจลักษณะเฉพาะทาง
วั
ฒนธรรมของกลุ
่
มคน เพื่
อท�
ำความเข้
าใจว่
าแต่
ละกลุ
่
มมี
อั
ตลั
กษณ์
(identity)
อย่
างไร โดยเฉพาะเจ้
าอาณานิ
คมหรื
อรั
ฐบาล ซึ่
งต้
องการจ�
ำแนกชาติ
พั
นธุ
์
ที่
ใช้
ในการก�
ำหนดนโยบายและแนวทางในการ “จั
ดการ” กั
บกลุ
่
มต่
างๆ ทางด้
าน
การเมื
องการปกครอง รวมทั้
งในการ “พั
ฒนา” สู่
ความทั
นสมั
ยด้
วย แต่
ในระยะหลั
ง
เมื่อบริบทและเงื่อนไขต่างๆ เปลี่ยนแปลงไป อาทิเช่น การอพยพเคลื่อนย้ายของ
ผู้คนและการติดต่อสื่อสารได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว การศึกษากลุ่มชาติพันธุ์จึงได้
รับอิทธิพลของแนวคิดหลังสมัยใหม่
มากขึ้น ด้
วยการหันมาเริ่มมองความสัมพันธ์
ทางชาติ
พั
นธุ
์
ในเชิ
งวาทกรรม หรื
อการสร้
างความหมาย โดยเฉพาะความหมาย
ของอั
ตลั
กษณ์
ทางชาติ
พั
นธุ
์
ซึ่
งเต็
มไปด้
วยการครอบง�
ำและการต่
อต้
าน เพื่
อการ
ช่วงชิ
งความหมายในการสร้างตั
วตนที่
แตกต่างจากคนอื่
น ตลอดจนการรวมตั
วกั
น
ให้มีพลังในการต่อสู้และปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจกับกลุ่มอื่น เช่นเดียว
กั
บกรณี
ของการศึ
กษาศิ
ลปวั
ฒนธรรมในบทก่อนหน้านี้
ในส่วนของกรณี
ศึ
กษาวิ
จั
ยชาติ
พั
นธุ์ในภาคเหนื
อนั้
น ผู้เขี
ยนบทความก็
ชี้
ให้
เห็นว่า ได้ปรับเปลี่ยนไปตามบริบทและเงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลงต่างๆ หลาย
ประการด้วยกัน นับตั้งแต่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีการเดินทางและ
การสื่
อสาร การเปิดพรมแดนและการรวมตั
วของประชาคมอาเซี
ยน การลงนามใน
ปฏิ
ญญาสากลและข้
อตกลงของสหประชาชาติ
และองค์
กรระหว่
างประเทศ การ
ปรั
บปรุ
งเชิงสถาบั
นและแนวนโยบายว่
าด้
วยชาติ
พันธุ
์
ของรั
ฐไทย ทั้
งนี้ในช่
วงหลั
ง
มี
หลายหน่
วยงานมากขึ้
นในการท�
ำหน้
าที่
สนั
บสนุ
นการวิ
จั
ยและการเผยแพร่
งาน
ด้านชาติ
พั
นธุ์ ตั
วอย่างเช่น ศูนย์มานุ
ษยวิทยาสิ
ริ
นธร (องค์กรมหาชน) ที่
สนั
บสนุ
น
การวิ
จั
ยและเผยแพร่ความรู้เรื่
องชาติ
พั
นธุ์ และศูนย์ศึ
กษาชาติ
พั
นธุ์และการพั
ฒนา
มหาวิ
ทยาลั
ยเชี
ยงใหม่ เป็นต้น
การเปลี่
ยนแปลงดั
งกล่
าวข้
างต้
นมี
ส่
วนอย่
างมากในการปรั
บเปลี่
ยนประเด็
น
ในการวิ
จั
ยชาติ
พั
นธุ
์
ซึ่
งเริ่
มหั
นมาให้
ความส�
ำคั
ญกั
บการศึ
กษาประเด็
นใหม่
ๆ
หลายประการด้วยกั
นคื
อ