Previous Page  18 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 18 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

17

งานวิจัยตามแนวทางข้างต้นอาจจะมีแนวทางการวิเคราะห์แตกต่างกันอยู่

บ้าง ตั้งแต่การวิเคราะห์

เชิงสถิตและเชิงเดี่ยวไปจนถึงการมองความเปลี่ยนแปลง

และเชื่

อมโยงการอธิ

บายเชิ

งสั

งคมหรื

อการใช้

วิ

ธี

การจากวิ

ชาการสาขาต่

างๆ ร่

วมกั

ตลอดจนบางส่

วนก็

อาจจะน�

ำทฤษฎี

ต่

างๆ มาช่

วยวิ

เคราะห์

ข้

อมูลด้

วย ไม่

ว่

าจะเป็

มุ

มมองเชิ

งโครงสร้

างในฐานะที่

เป็

นวิ

ธี

คิ

ดเชิ

งลึ

ก การวิ

เคราะห์

เชิ

งสั

ญวิ

ทยา เพื่

ชี้ให้เห็นถึงความสัมพันธ์เชิงอ�

ำนาจของอุดมการณ์ รวมทั้งการวิเคราะห์เชิงหน้าที่

แต่ทั้งนี้

ทั้งนั้

นการศึกษาตามแนวทางเช่

นนี้

ก็ยังมีข้

อจ�

ำกัดอยู่มาก ตรงที่ยังมองไม่

เห็

นความส�

ำคั

ญของมนุ

ษย์

ในฐานะผู้

กระท�

ำการทางวั

ฒนธรรมและสั

งคมเท่

าที่

ควร

ยิ่

งไปกว่

านั้

นบทความนี้

ยั

งพบด้

วยว่

า งานวิ

จั

ยจ�ำนวนมากนั้

นมั

กจะมอง

ศิ

ลปวั

ฒนธรรมในเชิ

งคุ

ณค่

าแล้

วก็

เห็

น “ศิ

ลปะ” เป็

นเพี

ยงผลิ

ตผลจากการสร้

างสรรค์

ของปั

จเจกชน ด้

วยการผูกติ

ดศิ

ลปะไว้

กั

บคุ

ณค่

าต่

างๆ ไม่

ว่

าจะเป็

น คุ

ณค่

เชิ

งสุ

นทรี

ยะ และคุ

ณค่

าเชิ

งภูมิ

ปั

ญญาที่

เปรี

ยบเสมื

อนมรดกทางวั

ฒนธรรม

ที่

สามารถถ่

ายทอดและสั่

งสมจากรุ

นสู่

รุ

นได้

อี

กทั้

งยั

งตั้

งข้

อสั

งเกตเพิ่

มเติ

มว่

การวิ

จั

ยเช่

นนี้

อาจจะมี

เจตนาดี

ในการกระจายอ�ำนาจการศึ

กษาและท้

าทายการรวม

ศูนย์

อ�

ำนาจอยู่

บ้

าง แต่

ก็

อาจแปรเปลี่

ยนไปสู่

การสร้

างกระแสอนุ

รั

กษ์

นิ

ยมระดั

บย่

อยๆ

ขึ้

นมาก็

ได้ด้วยเช่นเดี

ยวกั

ด้

วยเหตุ

นี้

เอง บทความนี้

จึ

งได้

ตั้

งสั

งเกตต่

อไปว่

า งานวิ

จั

ยในระยะหลั

งๆ

มั

กจะหั

นไปรั

บทฤษฎี

หลั

งสมั

ยใหม่ที่

เน้นความสั

มพั

นธ์เชิ

งอ�

ำนาจมากขึ้

น ด้วยการ

วิ

เคราะห์

ศิ

ลปวั

ฒนธรรมในเชิ

งวาทกรรม ที่

อยู่

ในกระบวนการสร้

างและสถาปนา

ความเป็

นจริ

งทางสั

งคม ซึ่

งท�

ำให้

ศิ

ลปวั

ฒนธรรมเป็

นส่

วนหนึ่

งของการปะทะประสาน

กันของอ�ำนาจต่างๆ ทั้งอ�ำนาจระหว่างรัฐ เผ่าพันธุ์ และเพศ รวมทั้งเพิ่มมิติของ

การวิ

พากษ์

วิ

จารณ์

ความสั

มพั

นธ์

เชิ

งอ�

ำนาจระหว่

าง “เสี

ยง” ของผู้

คนในสนามของ

ความสั

มพั

นธ์ต่างๆ รวมทั้

งเสี

ยงระหว่างชาวบ้านและนั

กวิ

จั

ยอี

กด้วย

มุ

มมองเชิ

งวิ

พากษ์

เช่

นนี้

เองชวนให้

หั

นมามองศิ

ลปวั

ฒนธรรม ในฐานะที่

เป็นเรื่

องของภาพแทนความจริ

ง มากกว่าที่

จะมองว่าศิ

ลปวั

ฒนธรรมสะท้อนความ

เป็นจริ

ง ซึ่

งมีนั

ยว่าไม่มี

ใครสามารถพูดความจริ

งได้ทั้

งหมด และก็

ไม่มี

ใครสามารถ