Previous Page  17 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 17 / 272 Next Page
Page Background

16

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ไว้

ในล�

ำดั

บแรกของหนั

งสื

อเล่

มนี้

เพื่

อที่

จะช่

วยวางกรอบและแนวทางให้

สามารถอ่

าน

บทความที่

ตามมาหลั

งจากนั้

นได้อย่างเชื่

อมโยงกั

นมากขึ้

บทความนี้

เริ่

มต้

นด้

วยการตั้

งค�

ำถามกั

บความเข้

าใจวั

ฒนธรรมแบบ

สารั

ตถะนิ

ยม (หรื

อแก่

นสารนิ

ยม) ที่

มองวั

ฒนธรรมในเชิ

งคุ

ณค่

าที่

ดี

งามและตายตั

ซึ่งเป็นมุมมองของการศึกษาวัฒนธรรมกระแสหลัก ว่าสร้างปัญหาในการอธิบาย

วั

ฒนธรรมในยุ

คปั

จจุ

บั

นอย่

างไร ในขณะที่

วั

ฒนธรรมโดยเฉพาะศิ

ลปวั

ฒนธรรมก�

ำลั

ถูกเปลี่

ยนให้

กลายเป็

นสิ

นค้

ามากขึ้

น และเสนอให้

หั

นมาท�

ำความเข้

าใจกั

บวั

ฒนธรรม

ในมิ

ติ

ของความสั

มพั

นธ์

เชิ

งอ�

ำนาจ ในฐานะที่

เป็

นกลยุ

ทธ์

ของการต่

อรองของกลุ

มชน

ต่

างๆ ในสั

งคม ซึ่

งอาจเริ่

มต้

นจากการมองความหมายทางวั

ฒนธรรมที่

ซ่

อนแฝงอยู่

และพยายามวิ

เคราะห์ต่อไปว่าความหมายต่างๆ เช่น อั

ตลั

กษณ์นั้

นประกอบสร้าง

ขึ้

นมาได้

อย่

างไร โดยชี้

ให้

เห็

นว่

า การเปลี่

ยนแปลงทิ

ศทางการศึ

กษาวั

ฒนธรรม

ดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการปรับเปลี่ยนทางทฤษฎี ที่ได้รับอิทธิพลจากกระบวนทัศน์

หลั

งสมั

ยใหม่นิ

ยม และแนวการศึ

กษาแบบวั

ฒนธรรมศึ

กษาในตะวั

นตกมากขึ้

ทั้

งนี้

บทความได้

ตั้

งข้

อสั

งเกตเบื้

องต้

นว่

า การศึ

กษาศิ

ลปวั

ฒนธรรมส่

วนใหญ่

ยั

งคงยึ

ดมุ

มมองของการศึ

กษาวั

ฒนธรรมกระแสหลั

กอยู่ โดยเริ่

มจากการมองศิ

ลป

วั

ฒนธรรมในตั

วเองแบบสารั

ตถะนิ

ยม ที่

มี

แก่นแกนร่วมกั

นทางวั

ฒนธรรม ด้วยการ

วิ

เคราะห์

เชิ

งพรรณนาเพื่

อเข้

าใจโครงสร้

างภายในของศิ

ลปะนั้

นๆ ในลั

กษณะของ

การมองตัวงานศิลป์คล้ายกับเป็นระบบปิด

ที่มีระเบียบภายในและความเชื่อมโยง

กันขององค์ประกอบภายในระบบนั้

นๆ เอง ซึ่งอาจจะมองความเชื่อมโยงระหว่าง

ศิ

ลปะและสั

งคมได้

บ้

าง แต่

ก็

อยู่

ในฐานะที่

เป็

นความเป็

นจริ

งเชิ

งประจั

กษ์

เท่

านั้

น เช่

การผลิ

ตซ�้

ำความสั

มพั

นธ์

ที่

แน่

นแฟ้

นของชุ

มชนเป็

นต้

น ทั้

งนี้

อาจจะมี

ความพยายาม

แก้

ปั

ญหาดั

งกล่

าวอยู่

บ้

าง ด้

วยการหั

นไปศึ

กษาวิ

จั

ยศิ

ลปวั

ฒนธรรมด้

วยวิ

ธี

การวิ

จั

แบบมี

ส่วนร่วม เพื่

อเชื่

อมโยงระหว่างนั

กวิ

จั

ยและผู้ถูกวิ

จั

ยมากขึ้

น ด้วยการปฏิ

เสธ

ค่

านิ

ยมในเรื่

องความเป็

นกลางของผู้

วิ

จั

ย และ “ความเป็

นวิ

ทยาศาสตร์

” ของ

งานวิ

จั

ย แต่

ก็

มั

กจะยั

งไม่

ได้

เปลี่

ยนความเข้

าใจวั

ฒนธรรมไปจากกระแสหลั

กมากนั