Previous Page  23 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 23 / 272 Next Page
Page Background

22

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ในการต่

อสู้

เพื่

อช่

วงชิ

งทรั

พยากรป่

า เพราะความจริ

งนั้

นคนกะเหรี่

ยงได้

ท�

ำการเกษตร

แบบถาวร เพื่

อปลูกพื

ชเศรษฐกิ

จและค้

าขายมานานแล้

ว ขณะที่

นั

กวิ

ชาการอี

กส่

วน

หนึ่

งก็

เสนอให้

มองว่

า วาทกรรมนั้

นเป็

นกลยุ

ทธ์

ในการแก้

ไขปั

ญหาและการสร้

าง

อั

ตลั

กษณ์

ที่

เกี่

ยวข้

องกั

บชี

วิ

ตในหลายๆ ด้

านมากกว่

าด้

านการเกษตรเท่

านั้

ซึ่งอาจมีทั้งการสร้างอัตลักษณ์เชิงบวกและยืดหยุ่น ในความพยายามต่อรองและ

ต่

อต้

านการถูกกั

กขั

งอยู่

ในภาพลั

กษณ์

ที่

ตายตั

ว และอาจจะย้

อนแย้

งกั

นเอง หรื

อไม่

ได้เคลื่

อนไหวไปในทิ

ศทางเดี

ยวกั

นเสมอไป

ในระยะหลั

งๆ การศึ

กษาการสร้

างอั

ตลั

กษณ์

ทางชาติ

พั

นธุ

ยั

งพยายาม

เชื่

อมโยงกั

บประเด็

นของการสร้

างกลุ

มศาสนาใหม่

ในลั

กษณะของขบวนการ

เคลื่

อนไหวแบบพระศรี

อาริ

ย์

เพื่

อแยกแยะกลุ

มของตนออกจากศาสนาหลั

ด้

วยการสร้

างอั

ตลั

กษณ์

ที่

แตกต่

างออกไปจากกลุ

มชาติ

พั

นธุ

อื่

น และจากกลุ

ชาติ

พั

นธุ์เดี

ยวกั

นที่

นั

บถื

อศาสนาอื่

ส่

วนท้

ายของบทความผู้

เขี

ยนยั

งได้

สั

งเคราะห์

เพิ่

มเติ

ม เพื่

อชี้

ให้

เห็

นถึ

งทิ

ศทาง

ของการเปลี่

ยนแปลงแนวความคิ

ดและวิ

ธี

วิ

ทยาในการวิ

จั

ยด้

านชาติ

พั

นธุ

ในช่

วงสิ

บปี

ที่

ผ่

านมา ซึ่

งก�

ำลั

งโน้

มเอี

ยงมาเน้

นแนวคิ

ดเรื่

องอั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ

ที่

แตกต่

างไปจาก

ความเข้

าใจแบบสารั

ตถะนิ

ยมที่

ใช้

กั

นมาก่

อนหน้

านี้

ที่

มองอั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ์

อย่

าง

ตายตั

ว ด้วยการหั

นมามองว่าอั

ตลั

กษณ์ทางชาติ

พั

นธุ์เคลื่

อนไหวและเปลี่

ยนแปลง

ได้ อีกทั้งยังมีลักษณะพหุลักษณ์ ผสมผสาน สามารถปรับข้ามท้องถิ่น และเป็น

อั

ตลั

กษณ์

ที่

ช่

วงชิ

ง ในสถานการณ์

ที่

มี

การเปลี่

ยนแปลงสภาพทางเศรษฐกิ

จและ

สั

งคมอย่างรวดเร็

วอี

กด้วย

ในด้

านวิ

ธี

วิ

ทยาผู้

เขี

ยนบทความก็

ยั

งได้

ตั้

งข้

อสั

งเกตอี

กด้

วยว่

า แนวโน้

มของ

การศึกษาวิจัยก�ำลังเปลี่ยนจากแนวทางแบบชาติพันธุ์วิทยาที่เน้นการศึกษาชุมชน

เดี

ยว พื้

นที่

เดี

ยว หรื

อกลุ่มชาติ

พั

นธุ์เดี

ยวอย่างลึ

กซึ้

ง มาสู่การศึ

กษาความสั

มพั

นธ์

ระหว่างกลุ่ม หรือความสัมพันธ์กับรัฐและกลุ่มอ�ำนาจภายนอก พร้อมทั้งถกเถียง

เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับผู้ปฏิบัติการในลักษณะต่างๆ มากขึ้น

ท้ายที่สุดผู้เขียนบทความก็ชักชวนให้อภิปรายต่อไปอีกในประเด็นที่ว่า การศึกษา