18
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
ผูกขาดอ�ำนาจในการนิ
ยามความจริ
งได้
อย่
างเบ็
ดเสร็
จเด็
ดขาด ความจริ
งในเรื่
อง
ต่
างๆ ล้
วนเป็
นความจริ
งบางส่
วนจากมุ
มของคนบางกลุ
่
ม ขณะที่
เปิ
ดช่
องให้
มี
ผู้
ท้
าทายและต่
อรองได้
เสมอ ในฐานะที่
เป็
นทั้
งพื้
นที่
ของการสถาปนาอ�
ำนาจและ
พื้นที่
ที่ท้
าทายอ�
ำนาจด้
วย ความจริ
งทางวั
ฒนธรรมจึ
งไม่
หยุ
ดนิ่
งตายตัว แต่
กลั
บ
ยั
งไหลเลื่
อนเปลี่
ยนแปลงได้
มุ
มมองเช่
นนี้
เองท�
ำให้
งานศึ
กษาวิ
จั
ยต่
างๆ หั
นมาสนใจ
วั
ฒนธรรม ทั้
งในแง่ที่
เป็น
“กระบวนการ” และเป็นปฏิ
บั
ติ
การที่
ไม่เบ็
ดเสร็
จ แทนที่
จะมองวั
ฒนธรรมเป็นเพี
ยง “โครงสร้าง” หรื
อ “ระเบี
ยบ” ที่
มี
เอกภาพเท่านั้
น เช่น
กระบวนการสถาปนา “ความดั้
งเดิ
มแท้จริ
ง” (authenticity) ในการสร้างความชอบ
ธรรมแก่การฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรม ผ่านการสร้างสารัตถะนิยมขึ้นมาใหม่ จนกลาย
เป็
นพื้
นที่
ของการช่
วงชิ
งอั
ตลั
กษณ์
ทางวั
ฒนธรรมของกลุ่
มต่
างๆ ทั้
งรั
ฐ เอกชน และ
กลุ่มศิ
ลปินเอง
ส�ำหรับบทความชิ้นต่อมาของ ขวัญชีวัน บัวแดง เรื่อง “ความเคลื่อนไหว
และอั
ตลั
กษณ์ทางชาติ
พั
นธุ์” นั้
น ผู้เขี
ยนบทความได้เริ่
มต้นด้วยการทบทวนความ
เข้
าใจความหมายของชาติ
พั
นธุ
์
ในฐานะประเด็
นศึ
กษาหลั
ก จากความเข้
าใจพื้
นฐาน
ที่
ตั้
งอยู่บนแนวความคิดแบบโครงสร้างนิยมว่า ชาติ
พั
นธุ์เป็นส�
ำนึ
กร่วมที่
เน้นความ
เป็นอันหนึ่
งอันเดียวกันในทางเชื้อสายที่สืบทอดกันมา ซึ่งต่อมาก็มีความพยายาม
ปรั
บความหมายให้
สอดคล้
องกั
บสถานการณ์
จริ
งมากขึ้
น ด้
วยการนิ
ยามเพิ่
มเติ
มให้
ชาติ
พั
นธุ์
เป็
นกลุ่
มที่
สร้
างขึ้
นมาทางสั
งคม เพื่
อท�
ำความเข้
าใจความสั
มพั
นธ์
ระหว่
าง
กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ ซึ่
งไม่
เพี
ยงแตกต่
างกั
นเท่
านั้
น แต่
ยั
งมี
ความไม่
เท่
าเที
ยมกั
น
ทั้
งทางโครงสร้
างและการล�
ำดั
บขั้
นของความแตกต่
างอี
กด้
วย ขณะที่
การนิ
ยาม
บางส่
วนก็
เน้
นความหมายของการธ�
ำรงชาติ
พันธุ
์
หรื
อจิ
ตส�
ำนึ
กชาติ
พันธุ
์
ในระดั
บ
องค์
รวมที่
สมาชิ
กยอมรั
บเอาบรรทั
ดฐานร่
วมกั
นในกระบวนการปฏิ
สั
มพั
นธ์
ทางสั
งคม
แต่นั
กวิ
ชาการบางส่วนกลั
บเห็
นว่า ในความสั
มพั
นธ์ระหว่างกลุ่มนั้
น สมาชิ
กแต่ละ
คนอาจปรั
บเปลี่
ยนความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
ของตนได้
ด้
วย ในแง่
นี้
ความเป็
นชาติ
พั
นธุ
์
จึ
งไม่
ตายตั
ว หากสามารถปรั
บเปลี่
ยนไปได้
ตามการเปลี่
ยนแปลงของโครงสร้
าง
สั
งคม