งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
21
กลุ่มเด็
กและเยาวชนซึ่
งเป็นทายาทรุ่นที่
2 ก็
ยั
งมี
ปัญหาของความไม่ชั
ดเจนในด้าน
สถานภาพทางกฎหมาย และยั
งมี
การศึ
กษากลุ่มผู้หญิ
งในขบวนการกู้ชาติ
ไทใหญ่
ที่
เน้
นบทบาทและสถานภาพในความพยายามสร้
างพื้
นที่
ทางสั
งคม เพื่
อเพิ่
มอ�
ำนาจ
ให้กั
บเพศสภาพของตนด้วย
ประเด็
นที่
สาม การปรั
บเปลี่
ยนด้านเศรษฐกิ
จสั
งคม วั
ฒนธรรมและศาสนา
ของชุ
มชนชาติ
พั
นธุ
์
ซึ่
งมั
กจะเริ่
มจากการเผชิ
ญกั
บปั
ญหาความขั
ดแย้
งในการใช้
ที่
ดิ
น
และทรัพยากรธรรมชาติ จนต้
องเปลี่ยนแปลงมาเป็นการเกษตรเชิงพาณิ
ชย์
และ
ปรั
บการใช้
แรงงานจากการแลกเปลี่
ยนแรงงานกลายเป็
นการจ้
างงานแล้
ว ชุ
มชนบน
พื้นที่สูงบางแห่งยังหันมาพึ่งพาระบบเศรษฐกิจบนพื้นฐานของการท่องเที่ยว และ
การออกไปท�
ำงานในเมื
องและต่
างประเทศ ซึ่
งน�
ำมาซึ่
งปั
ญหาการค้
าบริ
การทางเพศ
นอกจากนั้
นกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
บางกลุ
่
มก็
ยั
งเปลี่
ยนศาสนาจากศาสนาดั้
งเดิ
มเป็
นศาสนา
คริ
สต์
และพุ
ทธ ซึ่
งอาจถื
อเป็
นการประดิ
ษฐ์
วั
ฒนธรรมขึ้
นมาใหม่
เพื่
อก�
ำหนด
ต�
ำแหน่
งแห่
งที่
และความเป็
นตั
วตนทางวั
ฒนธรรมของพวกเขา ในบริ
บทของการ
สร้างชาติ
และการพั
ฒนาในยุ
คสมั
ยใหม่
ประเด็นที่สี่ ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ พบว่ามีการศึกษาประวัติศาสตร์และ
ลั
กษณะวั
ฒนธรรมเฉพาะของคนกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เดี
ยวกั
น แต่
อยู่
ในหลายรั
ฐชาติ
มากขึ้
น
ประเด็
นสุ
ดท้าย ขบวนการต่อสู้และการเมื
องเชิ
งอั
ตลั
กษณ์
ประเด็
นนี้
กลาย
เป็
นประเด็
นหลั
กในงานวิ
จั
ยระยะหลั
งๆ จ�
ำนวนมาก ส่
วนหนึ่
งเกี่
ยวข้
องกั
บการต่
อสู้
กับนโยบายและปฏิบัติการของรัฐที่มักมีผลกระทบทางลบแก่ชุมชนชาติพันธุ์ต่างๆ
งานวิ
จั
ยพบกลยุ
ทธ์
ในการต่
อสู้
หลายประการ เช่
น การสร้
างวาทกรรมตอบโต้
วาทกรรมของรั
ฐที่
จ�
ำกั
ดการใช้
ทรั
พยากรที่
ดิ
นและป่
าไม้
บนพื้
นที่
สูง ด้
วยการชี้
ว่
า
ระบบการท�
ำไร่
หมุ
นเวี
ยนของชาวปกาเกอะญอสามารถสร้
างหลั
กประกั
นและความ
มั่
นคงในการยั
งชี
พ
การศึ
กษาเชิ
งวาทกรรมนี้
เองก็
ได้
เปิ
ดประเด็
นให้
เกิ
ดวิ
วาทะทางวิ
ชาการอย่
าง
กว้างขวาง นั
กวิ
ชาการบางคนวิ
พากษ์วิ
จารณ์ว่าการสร้างภาพดั
งกล่าวจะไม่ได้ผล