Previous Page  26 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 26 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

25

ให้แตกต่างจากกลุ่มชนอื่

น เช่น กลุ่มชาติ

พั

นธุ์บางกลุ่มจะนิ

ยามอั

ตลั

กษณ์ของตน

ด้

วยการปรั

บเปลี่

ยนแบบแผนการใช้

พื้

นที่

เพาะปลูก จากกึ่

งเร่

ร่

อนมาเป็

นกึ่

งถาวร

พร้

อมทั้

งการรั

กษาพื้

นที่

ปลูกข้

าวแบบเก่

า และอนุ

รั

กษ์

ความรู้

ของกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ของ

ตนเอง

ในพื้

นที่

วั

ฒนธรรมมิ

ติ

ที่

สองนั้

น ผู้

เขี

ยนบทความได้

วิ

เคราะห์

ว่

าเป็

นพื้

นที่

ของ

การช่

วงชิงความรู้

ในการพัฒนาพื้นที่สูง ซึ่งผลักให้

การวิจัยด้

านวัฒนธรรมกับการ

พั

ฒนาเริ่

มหั

นไปสนใจชุ

ดความรู้

อื่

นๆ โดยเฉพาะชุ

ดความรู้

ที่

เรี

ยกว่

า ภูมิ

ปั

ญญา

ท้องถิ่

น ที่

เป็นคู่ตรงกั

นข้ามกั

บชุ

ดความรู้สากลแบบวิ

ทยาศาสตร์ จากอิ

ทธิ

พลของ

วาทกรรมท้

องถิ่

นนิ

ยมที่

พยายามตอบโต้

กั

บกระแสโลกาภิ

วั

ตน์

แต่

การวิ

จั

ยได้

พบว่

ความรู้

ท้

องถิ่

นไม่

ได้

อยู่

ในรูปขององค์

ความรู้

ที่

ด�

ำรงอยู่

แล้

วอย่

างตายตั

วเสมอไป

เพราะในขณะปฏิ

บั

ติ

การนั้

น ผู้

กระท�

ำการสามารถปรั

บเปลี่

ยนและผสมผสานความรู้

ต่างๆ อยู่เสมอตามสถานการณ์ เพื่อการต่อรองในบริบทของการช่วงชิงความรู้ใน

การพั

ฒนา ตั

วอย่

างงานวิ

จั

ยบนพื้

นที่

สูงของภาคเหนื

อช่

วยให้

มองเห็

นความรู้

ท้

องถิ่

ในหลายมิ

ติ

ทั้

งเป็

นภูมิ

ปั

ญญาที่

มี

ศั

กยภาพและพลวั

ตในการปรั

บตั

วกั

บการพั

ฒนา

ทั้

งเป็

นทุ

นทางวั

ฒนธรรม ที่

สามารถเปลี่

ยนให้

เป็

นกลยุ

ทธ์

ในการสร้

างอั

ตลั

กษณ์

อี

กทั้

งเป็

นปฏิ

บั

ติ

การของการช่

วงชิ

งความหมายและการผสมผสานความรู้

ตาม

สถานการณ์ ในส่วนนี้

จึงมีเนื้อหาซ้อนกันและคาบเกี่ยวกับบทที่แล้วและบทต่อไป

อยู่ด้วย

ในพื้

นที่

วั

ฒนธรรมมิ

ติ

ที่

สาม ผู้

เขี

ยนบทความวิ

เคราะห์

ว่

าเป็

นพื้

นที่

ใน

การเมื

องของการต่

อรองความหมายและความรู้

ของชุ

มชนท้

องถิ่

นที่

มี

พลวั

ต ในส่

วน

นี้

มี

ประเด็

นที่

อาจคาบเกี่

ยวกั

บบทต่

อไปอยู่

บ้

าง แต่

ในบทนี้

จะเน้

นไปที่

การปฏิ

บั

ติ

การทางการเมื

อง โดยเฉพาะความพยายามของชุ

มชนในการจะเข้าไปมี

บทบาทใน

การเมื

องท้

องถิ่

นมากขึ้

น ผ่

านระบบการเลื

อกตั้

งท้

องถิ่

นในระดั

บต่

างๆ เพื่

อจะได้

มี

ส่

วน

ในการจั

ดการกั

บความเสี่

ยงต่

างๆ และการต่

อรองกั

บนโยบายและการเมื

องในระดั

สูงขึ้นไป จนการเลือกตั้งได้กลายเป็นพื้นที่ของการต่อรองกับอ�ำนาจทางการเมือง

เพื่

อแสวงหาทรั

พยากรจากรั

ฐมาตอบสนองการบริ

โภคความหมายของความเป็