Previous Page  16 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 16 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

15

ในหนั

งสื

อเรื่

อง เจ้าที่

และผี

ปู่ย่า: พลวั

ตของความรู้ชาวบ้าน อ�

ำนาจและตั

วตนของ

คนท้องถิ่น (อานั

นท์ 2555) ในช่วงเดียวกันนั้

น นั

กวิชาการตะวันตกก็เริ่มให้ความ

สนใจศึ

กษาการนั

บถื

อผี

ของชาวบ้านในภาคเหนื

อกั

นมากขึ้

นด้วยเช่นกั

น ดั

งจะเห็

ได้

จากวิ

ทยานิ

พนธ์

ปริ

ญญาเอกของ Walter Irvine นั

บว่

าภายหลั

งได้

น�

ำมาเขี

ยนเป็

บทความเรื่

อง

“Decline of village spirit cults and growth of urban spirit mediumship:

the persistence of spirit beliefs, position of women and modernization” (Irvine

1984) โดยชี้ให้เห็นถึงจ�ำนวนคนทรงผีเจ้านายได้เพิ่มขึ้นในพื้นที่เมือง ที่ต้องเผชิญ

กั

บปั

ญหาจากการเปลี่

ยนแปลงด้

านต่

างๆ เพื่

อถกเถี

ยงให้

เห็

นถึ

งกระบวนการรื้

อฟื้

วั

ฒนธรรมดั้

งเดิ

มขึ้

นมาใหม่ ในช่วงของการเปลี่

ยนแปลงเข้าสู่สั

งคมสมั

ยใหม่อย่าง

รวดเร็

จากความเข้

าใจวั

ฒนธรรมเพี

ยงว่

าเป็

นรากเหง้

าดั้

งเดิ

มและคุ

ณค่

าที่

ดี

งาม

ในงานศึ

กษาวิ

จั

ยช่

วงแรกๆ ต่

อมาผู้

ศึ

กษาวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมได้

ค่

อยๆ เปิ

ดกว้

าง

และยอมรั

บว่

าวั

ฒนธรรมไม่

ได้

คงที่

ตายตั

วเสมอไป หากแต่

ยั

งอาจปรั

บเปลี่

ยน

ไปได้

ตามสภาพแวดล้

อมที่

เปลี่

ยนแปลงไป และในช่

วงหลั

งทศวรรษ 2520 นี้

เอง

นั

กวิ

ชาการส่

วนหนึ่

งก็

เริ่

มศึ

กษาวั

ฒนธรรมในเชิ

งการตั้

งค�

ำถาม พร้

อมทั้

งมี

ความ

เข้

าใจวั

ฒนธรรมอย่

างซั

บซ้

อนหลากหลายและมี

พลวั

ตมากขึ้

น บนพื้

นฐานของ

แนวความคิ

ด ทฤษฎี

และวิ

ธี

วิ

ทยาที่

แตกต่

างและย้

อนแย้

งกั

นเองไปพร้

อมๆ กั

ซึ่

งจะปรากฏให้

เห็

นอย่

างชั

ดเจนในงานวิ

จั

ยช่

วงหลั

งทศวรรษที่

2530 เป็

นต้

นมา

เมื่อการศึกษาวิ

จั

ยวัฒนธรรมแทบทั้

งหมดเป็

นผลงานของนั

กวิชาการในระบบของ

สถาบั

นการศึ

กษาระดั

บสูง ดั

งจะสะท้

อนออกมาอย่

างชั

ดเจน ในบทความเชิ

งส�

ำรวจ

องค์

ความรู้

และสถานภาพงานวิ

จั

ยวั

ฒนธรรม ในประเด็

นปั

ญหาต่

างๆ ทั้

ง 4 ประเด็

ที่

รวมกั

นอยู่ในหนั

งสื

อเล่มนี้

ส�

ำหรั

บบทความแรกของอภิ

ญญา เฟื

องฟูสกุ

ล เรื่

อง “ศิ

ลปวั

ฒนธรรมใน

ความเคลื่

อนไหวทางวั

ฒนธรรม” แม้

จะเจาะจงศึ

กษาเฉพาะประเด็

นศิ

ลปวั

ฒนธรรม

เป็

นหลั

ก แต่

ก็

ได้

ช่

วยปูพื้

นฐานความเข้

าใจวั

ฒนธรรมที่

หลากหลายและซั

บซ้

อน

บนพื้

นฐานของแนวคิ

ด ทฤษฎี

และวิ

ธี

วิ

ทยาต่

างๆ ไว้

อย่

างครอบคลุ

ม จึ

งถูกจั

ดเรี

ยง