งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
193
อย่
างไรก็
ตาม ในปั
จจุ
บั
นนี้
ชุ
มชนท้
องถิ่
นที่
อยู่
ชานเมื
องใหญ่
เช่
น เมื
อง
เชียงใหม่ ชาวบ้านอาจจะยังเหลืออ�ำนาจในการก�ำหนดชีวิตของตนเองได้น้อยลง
ไปทุ
กที
เพราะชุ
มชนของพวกเขาก�
ำลั
งเปลี่
ยนแปลงอย่างรวดเร็
ว จากอิ
ทธิ
พลของ
กระแสการอพยพเข้
ามาอยู่
อาศั
ยในพื้
นที่
ของกลุ
่
มคนภายนอก ที่
ก�
ำลั
งขยายตั
ว
มากขึ้
นอย่
างต่
อเนื่
อง กลุ
่
มผู้
ที่
เข้
ามาอยู่
อาศั
ยใหม่
เหล่
านี้
มี
ความแตกต่
างและ
หลากหลายอย่างมาก ตั้
งแต่คนงานผลั
ดถิ่
นจากประเทศเพื่
อนบ้าน กลุ่มชาติ
พั
นธุ์
จากพื้
นที่
สูง ตลอดจนถึ
งชนชั้
นกลางฐานะดี
จากเมื
องใหญ่
และชาวต่
างชาติ
ที่
มี
เมี
ย
คนไทย ซึ่
งกระทบต่
อภูมิ
ทั
ศน์
ทางวั
ฒนธรรมในชุ
มชนท้
องถิ่
นอย่
างรุ
นแรง โดยเฉพาะ
ความแตกต่างและความขั
ดแย้งกั
นในการบริ
โภคความเป็นสมั
ยใหม่
ดังตัวอย่างในบทความวิจัยเบื้องต้
นเรื่อง “Migration to the countryside:
class encounters in peri-urban Chiang Mai Thailand” (Tubtim 2012) ซึ่
งพบการ
ปะทะกันของการบริ
โภควัฒนธรรมในหลายแง่หลายมุม ระหว่างกลุ่มชาวบ้านเดิม
และกลุ
่
มผู้
มาอยู่
อาศั
ยใหม่
ขณะที่
ชาวบ้
านที่
อยู่
มาเดิ
มจะให้
ความส�
ำคั
ญกั
บ
ความจ�
ำเป็
นในทางปฏิ
บั
ติ
เช่
น ความสะดวกด้
านสาธารณูปโภคและความปลอดภั
ย
จากโจรผู้
ร้
าย กลุ
่
มชนชั้
นกลางที่
เข้
ามาอยู่
ใหม่
กลั
บให้
คุ
ณค่
ากั
บภาพลั
กษณ์
และ
ความงามแบบชนบทตามจิ
นตนาการของตน ซึ่
งอาจจะเป็
นเพี
ยงการหวนหาอดี
ต ทั้
งๆ
ที่
พวกเขาก็
ไม่ได้สนใจใยดี
มากนั
ก ที่
จะเข้าไปมี
ส่วนร่วมในการกิ
จกรรมต่างๆ ของ
ชุ
มชน เพราะยั
งค�
ำนึ
งถึ
งความเป็
นส่
วนตั
วมากกว่
า จนท�
ำให้
ความเข้
าใจความหมาย
ของการอนุ
รั
กษ์
และการพั
ฒนาแตกต่
างกั
นเกื
อบสิ้
นเชิ
ง ในลั
กษณะที่
คล้
ายกั
บความ
แตกต่
างทางชนชั้
น แต่
อาจจะไม่
ใช่
ชนชั้
นทางเศรษฐกิ
จ เช่
นที่
เคยเข้
าใจกั
นมาในอดี
ต
หากเป็
นชนชั้
นในมิ
ติ
ของการบริ
โภคความหมายและรสนิ
ยมที่
แตกต่
างกั
นมากขึ้
น
ซึ่
งอาจจะกลายเป็
นพลั
งส�
ำคั
ญส่
วนหนึ่
ง ในการผลั
กดั
นการเปลี่
ยนแปลงชุ
มชน
ท้องถิ่
นในอนาคตก็
เป็นได้
จากพลวั
ตของชุ
มชนท้
องถิ่
นในภาคเหนื
อที่
เปลี่
ยนแปลงอย่
างรวดเร็
ว
ดั
งได้กล่าวไปแล้ว อาจจะเป็นไปได้ยากที่
จะมองชุ
มชนท้องถิ่
นด้วยความกลมกลื
น
ด้
านเดี
ยวได้
อี
กต่
อไป หากคงต้
องหั
นมาท�
ำความเข้
าใจกั
บความแตกต่
างและ