งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
191
ผู้อนุรักษ์ และมัคคุเทศก์ทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะในกลุ่มพรานที่เลิกจับปลาบึก
แล้
ว เพื่
อจะได้
สามารถเข้
าถึ
งโอกาสและทรั
พยากรจากเครื
อข่
ายอนุ
รั
กษ์
ต่
างๆ
พร้
อมๆ กั
บตอบโต้
กั
บภาพลั
กษณ์
จากสั
งคมภายนอก ที่
ตี
ตราพวกเขาว่
าเป็
น
“หมู่บ้านฆ่าสัตว์ตัดชีวิต” ไปด้วย ขณะที่นายพรานที่ยังต้องการจับปลาบึกอยู่จะ
ต่อรองผ่านการผสมผสานความรู้ท้องถิ่
น และความรู้ตามสถานการณ์มาใช้โต้แย้ง
กับวาทกรรมที่ว่าปลาบึกใกล้สูญพันธุ์ ตลอดจนใช้พื้นที่ของพิธีกรรมไหว้ผี ในการ
สร้
างอัตลั
กษณ์
ของพรานที่
มีทั้
งความรู้
และความสามารถ และยั
งซ้
อนอั
ตลั
กษณ์
อื่
นๆ ข้
างต้
นทั
บลงไปอี
กด้
วย เพื่
อต่
อรองและอ้
างสิ
ทธิ
ในการจั
บปลาบึ
ก ด้
วย
เหตุ
นี้
เองการเมื
องของการช่
วงชิ
งความหมายของปลาบึ
กและการต่
อรองสิ
ทธิ
ในการ
จั
บปลาบึ
กจึ
งมี
ความซั
บซ้อนอย่างมาก
นอกจากการเมื
องของการต่
อรองเกี่
ยวกั
บสิ
ทธิ
ในทรั
พยากรประเภทต่
างๆ
ดั
งกล่
าวไปแล้
ว ชุ
มชนท้
องถิ่
นก็
ยั
งมี
ส่
วนร่
วมอยู่
ในการเมื
องของการช่
วงชิ
ง
ความหมายทางวั
ฒนธรรมด้
านอื่
นๆ อี
ก ทั้
งนี้
เพราะรั
ฐพยายามจะมี
บทบาทน�
ำ
ผ่านกระทรวงวัฒนธรรม ในการนิยามวัฒนธรรมและอัตลักษณ์ของท้
องถิ่นให้
อยู่
ในบริบทของความเป็นไทยมาอย่างต่อเนื่อง ดังจะเห็นได้จากการเสนอข้อถกเถียง
ในบทความเรื่
อง “Ministering culture: hegemony and the politics of culture and
identity in Thailand” (Connors 2005) ซึ่งมักจะแตกต่างและขัดแย้งกับการนิยาม
วั
ฒนธรรมและอั
ตลั
กษณ์
ของแต่
ละท้
องถิ่
นเอง ที่
มี
ลั
กษณะหลากหลายและซั
บซ้
อน
มากกว่าความหมายและความเข้าใจของรั
ฐ ด้วยเหตุ
นี้
เองจึ
งมั
กจะพบว่าพื้
นที่
ทาง
วัฒนธรรมได้กลายเป็นพื้นที่ของการช่วงชิงและต่
อรองความหมายทางวัฒนธรรม
ระหว่างกลุ่มต่างๆ ในชุ
มชนท้องถิ่
นกั
บรั
ฐอยู่เสมอๆ ภายใต้บริ
บทของการพั
ฒนา
ดั
งตั
วอย่
างเช่
นในกรณี
ศึ
กษาพิ
ธี
ไหว้
ผี
เจ้
าหลวงค�
ำแดงที่
อ�
ำเภอเชี
ยงดาว
จั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
และอ�
ำเภอแม่
ใจ จั
งหวั
ดพะเยา ในบทความวิ
จั
ย เรื่
อง “Dynamics
of power of space in the Tai Yuan Chaw Luang Kham Daeng spirit cult” (Nittaya
and Siraporn 2011) ซึ่
งพบว่
า แม้
ผี
เจ้
าหลวงค�
ำแดงในอดี
ตนั้
นจะเชื่
อกั
นว่
าเป็
น
ผี
อารั
กษ์
เมื
องเชี
ยงใหม่
โดยมี
เจ้
าเมื
องเชี
ยงใหม่
เป็
นผู้
ประกอบพิ
ธี
แต่
ปั
จจุ
บั
นชาวบ้
าน