190
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
ควบคุมของชุมชนท้องถิ่นมากขึ้น ขณะที่มองข้ามการด�ำรงชีพด้วยการจับปลาบึก
ที่
มี
ความส�
ำคั
ญต่
อพรานปลาบึ
กและชุ
มชนท้
องถิ่
นว่
ามี
ความหมายมากกว่
า
อรรถประโยชน์เชิงเศรษฐกิจเท่านั้
น โดยภาคประชาสังคมได้นิยามปลาบึกว่าเป็น
ปลาที่
ใกล้
สูญพั
นธุ์
และควรอนุ
รั
กษ์
ไว้
ผ่
านพิ
ธี
กรรมต่
างๆ เชิ
งสั
ญลั
กษณ์
จนเปลี่
ยน
ให้ปลาบึ
กกลายเป็นทรั
พยากรของสากล พร้อมๆ ไปกั
บการสูญเสี
ยอ�
ำนาจในการ
ควบคุ
ม จั
ดการ และการใช้ประโยชน์ของชุ
มชนท้องถิ่
น
ภายใต้
กระแสกดดั
นต่
างๆ จากภายนอก พรานปลาบึ
กต้
องหั
นไปพึ่
งพา
อาชี
พอื่
นๆ ด้
วยการรั
บจ้
างทั้
งในและนอกภาคเกษตรกรรม ซึ่
งส่
งผลให้
พวกเขา
ต้
องเผชิ
ญกั
บปั
ญหาความไม่
มั่
นคงในการด�
ำรงชี
พและปั
ญหาความลั
กลั่
นของ
การพั
ฒนาต่างๆ แม้จะมี
ความพยายามเสนอทางเลื
อกต่างๆ มาช่วยเหลื
ออยู่บ้าง
ก็
ตาม พรานปลาบึ
กจึ
งได้
ลุ
กขึ้
นมาช่
วงชิ
งการนิ
ยามความหมายของปลาบึ
กบ้
าง
เพื่
อตอบโต้
กั
บวาทกรรมการอนุ
รั
กษ์
ที่
ยั
ดเยี
ยดลงมาจากระดั
บสากล แต่
พวกเขา
ก็
ให้
ความหมายแตกต่
างกั
นไปอย่
างหลากหลายและไม่
ได้
สอดคล้
องกั
นทั้
งหมด
ส�
ำหรั
บกลุ่
มพรานปลาบึ
กที่
ยั
งจั
บปลาอยู่
จะนิ
ยามปลาบึ
กว่
าเป็
นอาหาร เป็
นรายได้
เป็
นจารี
ต วิ
ถี
ปฏิ
บั
ติ
และเป็
นตั
วตนของพรานปลาผ่
านสั
ญลั
กษณ์
ของการท่
องเที่
ยว
ส่
วนกลุ
่
มพรานที่
เลิ
กจั
บปลาแล้
วก็
จะช่
วงชิ
งการนิ
ยามปลาบึ
กว่
าเป็
นปลาที่
ใกล้
สูญพันธุ์และการจับปลาบึกเป็นบาป ซึ่งแสดงถึงความพยายามของพรานปลาบึก
ในการต่
อรองกั
บวาทกรรมการพั
ฒนาทั้
งสองกระแส ที่
ก�ำลั
งครอบง�
ำอยู่
ในชุ
มชน
ท้องถิ่
นของลุ่มน�้
ำโขง
แต่
การที่
พรานปลาบึ
กนิ
ยามความหมายของปลาบึ
กแตกต่
างกั
น ก็
ท�
ำให้
การต่
อรองมี
ความหลากหลายไปตามเงื่
อนไขของความเป็
นพรานที่
แตกต่
างกั
น
นั้
นด้วย การต่อรองแบบแรกนายพรานจะรวมตั
วกั
นเป็นชุ
มชน และท�
ำงานร่วมกั
บ
กลุ่มเครื
อข่ายภาคประชาสั
งคมอนุ
รั
กษ์ธรรมชาติ
โดยท�
ำงานวิ
จั
ยของชาวบ้านเอง
เพื่
อน�
ำเสนอความรู้
ท้
องถิ่
นเกี่
ยวกั
บวั
ฒนธรรมของการจั
บปลาบึ
ก ผสมผสานกั
บ
ความรู้
สากลเกี่
ยวกั
บปลาบึ
กในฐานะปลาที่
ใกล้
สูญพั
นธุ
์
ส่
วนการต่
อรองอี
กแบบหนึ่
ง
นั้
นนายพรานจะสร้
างอั
ตลั
กษณ์
หรื
อตั
วตนใหม่
ของความเป็
นพราน เช่
น พรานใจบุ
ญ