Previous Page  186 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 186 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

185

เบื้

องหลั

งสาเหตุ

ดั

งกล่

าวยั

งมี

พื้

นฐานเกี่

ยวข้

องกั

บวิ

ธี

คิ

ด ที่

คนส่

วนใหญ่

มั

กจะ

มองการอนุ

รั

กษ์

และการพั

ฒนาเป็

นเสมื

อนความคิ

ดคู่

ตรงกั

นข้

ามที่

แยกขาดจากกั

โดยเข้

าใจว่

าการอนุ

รักษ์

เป็

นเพียงการสงวนไว้

เฉยๆ ขณะที่

มองการพั

ฒนาเฉพาะ

ด้

านของการน�

ำเอาทรั

พยากรมาใช้

ประโยชน์

ให้

เกิ

ดมูลค่

าในเชิ

งพาณิชย์

เท่

านั้น

แม้

แต่

นั

กวิ

ชาการเองก็

ยังมั

กจะเข้

าใจอย่

างผิดๆ ในท�

ำนองว่

า ป่

าชุมชนเป็

นเพี

ยง

การอนุ

รั

กษ์

และไม่

เกี่

ยวข้

องกั

บการเกษตรที่

ใช้

ประโยชน์

จากทรั

พยากร ขณะที่

มองป่

าเป็

นเพี

ยงต้

นไม้

(Walker 2004) แต่

กลับมองข้

ามผลผลิตจากป่

าที่ไม่

ใช่

ไม้

(Non-Timber Forest Product หรื

อ NTFP) ซึ่

งก็

ถื

อเป็

นผลผลิ

ตจากทรั

พยากรได้

เช่

นเดี

ยว

กั

บการเกษตร เพราะยั

งคงยึ

ดติ

ดอยู่

กั

บมุ

มมองเชิ

งเดี่

ยวและกั

บดั

กของคู่

ตรงกั

นข้

าม

ที่แยกการอนุรักษ์

และการใช้

ประโยชน์

ออกจากกั

นอย่

างเด็

ดขาด ทั้

งๆ ที่จริ

งแล้

ป่

าชุ

มชนเป็

นการจั

ดการทรั

พยากรเชิ

งซ้

อน ซึ่

งมั

กจะรวมทั้

งส่

วนที่

เป็

นพื้

นที่

ป่

าอนุ

รั

กษ์

และพื้

นที่

ป่

าใช้

สอย ที่

สามารถได้

ประโยชน์

จากทั้

งผลผลิ

ตจากป่

า และอาจจะมี

การ

ท�

ำวนเกษตรด้

วยการปลูกพื

ชสมุ

นไพรและเครื่

องเทศผสมผสานอยู่

ด้

วยก็

ได้

(อานั

นท์

2555ข: 212)

แม้

การออกพระราชบั

ญญั

ติ

ป่

าชุ

มชนจะยั

งไม่

ประสบผลส�

ำเร็

จก็

ดี

แต่

ท่

ามกลางการเข้

าร่

วมอยู่

ในขบวนการทางสั

งคมในการผลั

กดั

นพระราชบั

ญญั

ติ

ดั

งกล่าวก็

ได้สร้าง “พื้

นที่

ความรู้” ให้กลุ่มชนต่างๆ ได้ผสมผสานและช่วงชิ

งความรู้

ไปตามสถานการณ์

ที่

ระบบตลาดก�

ำลั

งมี

อิ

ทธิ

พลมากขึ้

น ด้

วยการไม่

แยกการอนุ

รั

กษ์

ออกจากการพั

ฒนาอย่

างสิ้

นเชิ

ง ซึ่

งช่

วยให้

ชาวบ้

านมี

ทางเลื

อกที่

หลากหลาย แทนที่

จะต้

องถูกบี

บให้

เข้

าสู่

การผลิ

ตเพื่

อระบบตลาดโดยไร้

การดิ้

นรนต่

อสู้

ด้

วยการปลูกพื

ตามใจตลาด ที่

ก�

ำลั

งขยายตั

วอย่างรวดเร็

วในพื้

นที่

ป่า ไม่ว่าจะเป็น ข้าวโพด และ

ยางพารา ซึ่

งล้

วนแล้

วแต่

ดึ

งให้

ชาวบ้

านต้

องตกอยู่

ภายใต้

ความเสี่

ยงต่

างๆ จนเหลื

อ�

ำนาจต่อรองน้อยลงไปทุ

กที

(อรั

ญญา 2556 และ อั

จฉรา 2556)

ทั้

งนี้

ชาวบ้

านในเขตพื้

นที่

ป่

าจึ

งใช้

ป่

าชุ

มชนเป็

นทั้

งพื้

นที่

ช่

วงชิ

งความรู้

และ

ความหมายของการพั

ฒนา พร้

อมๆ ไปกั

บการต่

อรองกั

บตลาด ในบริ

บทที่

วาทกรรม

การพั

ฒนาในสั

งคมยั

งผูกติ

ดอยู่กั

บการพึ่

งพาระบบตลาดอย่างตายตั

วเท่านั้

น ด้วย