182
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
อย่
างไรก็
ตามวอคเกอร์
เองก็
ยอมรั
บว่
า โครงการและเงิ
นอุ
ดหนุ
นต่
างๆ
ของรั
ฐ คงจะช่
วยให้
ชาวบ้
านด�
ำรงชี
วิ
ตอยู่
ได้
เฉพาะหน้
าในระยะสั้
นเท่
านั้
น แต่
จะไม่
สามารถช่วยให้ชุมชนท้องถิ่นเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างในระยะยาวไปได้มากนั
ก
เพราะยั
งขาดการสะสมทุ
น (Walker 2012: 21-22) ซึ่
งแสดงว่
าวอคเกอร์
เข้
าใจสภาวะ
ความสั
มพั
นธ์
ทางเศรษฐกิ
จการเมื
องของชุ
มชนท้
องถิ่
นเพี
ยงบางส่
วนเท่
านั้
น ขณะที่
มองข้
ามความซั
บซ้
อนและความแตกต่
างกั
นของหน่
วยงานต่
างๆ ในภาครั
ฐ รวมทั้
ง
ความซับซ้อนในความสัมพันธ์เชิงอ�
ำนาจระหว่างชุมชนท้องถิ่นและระบบการเมือง
และเศรษฐกิ
จภายนอก ที่
ยั
งด�
ำรงอยู่
อี
กมากมายภายใต้
กระบวนการโลกาภิ
วั
ตน์
และระบบตลาดแบบเสรี
นิ
ยมใหม่ ซึ่
งผลั
กดั
นให้ชาวบ้านต้องตกอยู่ในปัญหาต่างๆ
อย่างซั
บซ้อนในการเผชิ
ญหน้ากั
บความเสี่
ยงสูง ที่
เกิ
ดจากระบบเศรษฐกิ
จปัจจุ
บั
น
ยั
งแฝงไว้
ด้
วยการเก็
บค่
าเช่
าสูง ทั้
งในรูปของอ�
ำนาจในการกี
ดกั
นการเข้
าถึ
งทรั
พยากร
และการแสวงหาผลประโยชน์
ส่
วนเกิ
นลั
กษณะต่
างๆ มากมาย ซึ่
งยั
งด�
ำรงอยู่
ใน
ความสั
มพั
นธ์
ทางการผลิ
ต โดยเฉพาะการผลิ
ตแบบพั
นธสั
ญญา ดั
งตั
วอย่
างในกรณี
ศึ
กษาการปลูกมั
นฝรั่
ง ที่
มี
การเก็
บค่
าเช่
าสูง ในรูปของการรั
ดเอาเปรี
ยบ (นาวิ
น 2554)
จนท�ำให้ชาวบ้านไม่สามารถต่อรองกับรัฐในเชิงบวกเท่านั้
น หากแต่ต้องใช้กลยุทธ์
ในการต่
อรองที่หลากหลายกับทั้งรัฐและทุน ซึ่งต้
องปรับเปลี่ยนไปตามบริบทของ
สถานการณ์
ที่
หลากหลายและแตกต่
างกั
นไปในแต่
ละท้
องถิ่
น การนิ
ยามสั
งคม
การเมื
องของวอคเกอร์
จึ
งอาจจะยั
งมี
ข้
อจ�ำกั
ดอยู่
เฉพาะการเมื
องในเรื่
องเลื
อกตั้
ง
เช่นเดียวกันกับงานวิจัยของนั
กวิชาการไทยอีกหลายชิ้น เช่น ปฐมพงศ์ มโนหาญ
(2555) แต่
ยั
งไม่
ครอบคลุ
มปฏิ
บั
ติ
การทางการเมื
องของชาวบ้
านอี
กหลากหลาย
แนวทางและรูปแบบ โดยเฉพาะการเมื
องที่
เกี่
ยวข้
องกั
บความพยายามในการ
ปรั
บเปลี่
ยนโครงสร้างของความสั
มพั
นธ์เชิ
งอ�
ำนาจ
ดั
งจะเห็
นได้
จากกรณี
ศึ
กษาชุ
มชนชาวปกาเกอะญอ ที่
ตั้
งอยู่
บนพื้
นที่
ดอน
ในเขตอุ
ทยานแห่งชาติ
และถูกบี
บจากหน่วยงานของรั
ฐให้ต้องเลิ
กท�
ำไร่หมุ
นเวี
ยน
จนต้
องหั
นไปท�
ำไร่
ข้
าวโพดเชิ
งพาณิชย์
ภายใต้
ระบบเกษตรพั
นธสั
ญญาอย่
าง
เข้มข้นแทน ในบทความวิ
จั
ยเรื่
อง “Making of community” in a commercialized