งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
183
community in northern Thailand” (Atchara 2009) ซึ่
งพบว่
า ในขณะที่
โครงการช่
วยเหลื
อ
ต่
างๆ ของภาครั
ฐ นอกจากจะไม่
ได้
เอื้
อให้
ชุ
มชนเข้
มแข็
งแล้
ว ยั
งสร้
างปั
ญหา
ขั
ดแย้
งต่
างๆ อย่
างมากมายในด้
านการจั
ดการกองทุ
น ชาวบ้
านจึ
งหั
นไปเรี
ยนรู้
ที่
จะใช้
การท�
ำไร่
ข้
าวโพดเป็
นกลยุ
ทธ์
เพื่
อเสริ
มสร้
างความเข้
มแข็
งให้
ชุ
มชนรวมตั
วกั
น
ได้
มากขึ้
น ในการต่
อรองและต่
อสู้
กั
บนโยบายอนุ
รั
กษ์
ป่
าของรั
ฐ เพื่
ออ้
างสิ
ทธิ
ใน
ที่ดินท�ำกิน การเมืองของชาวบ้านที่นี่
จึงท�
ำผ่านปฏิบัติการในชีวิตประจ�
ำวันในการ
ปรับเปลี่ยนโครงสร้างของความสัมพันธ์เชิงอ�
ำนาจ ที่เกี่ยวข้องกับการต่อรองสิทธิ
ในการเข้
าถึ
งที่
ดิ
น โดยชาวบ้
านได้
รวมตั
วกั
นเพื่
อก�ำหนดขอบเขตพื้
นที่
ไร่
อย่
างชั
ดเจน
พร้
อมทั้
งวางกฎเกณฑ์
กั
นเองในชุ
มชนว่
าจะไม่
ขยายพื้
นที่
ท�
ำไร่
เพื่
อให้
เจ้
าหน้
าที่
อุ
ทยานยอมรั
บเขตพื้
นที่
ไร่
ของพวกเขา และช่
วยให้
พวกเขามี
อิ
สระมากขึ้
น จากการ
ถูกก�
ำกั
บควบคุ
มจากรั
ฐในการใช้พื้
นที่
ป่าในเขตอุ
ทยานแห่งชาติ
การเมื
องของชาวบ้
านในฐานะปฏิ
บั
ติ
การในชี
วิ
ตประจ�
ำวั
นของการต่
อรอง
เพื่
อปรั
บเปลี่
ยนความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�ำนาจกั
บรั
ฐนั้
น มั
กจะเกี่
ยวข้
องกั
บความพยายาม
ปรั
บเปลี่
ยนโครงสร้
างของความสั
มพั
นธ์
ในระยะยาว โดยเฉพาะการช่
วงชิ
งการ
นิ
ยามสิ
ทธิ
ชุ
มชนและวาทกรรมความรู้
ซึ่
งมี
หลากหลายรูปแบบและแตกต่
างกั
น
ไปในหลายบริ
บทของการพั
ฒนา ในกรณี
ศึ
กษาป่
าชุ
มชนบ้
านทุ
่
งยาวของ วิ
เศษ
สุ
จิ
นพรั
หม (2544) เรื่
อง ‘การเคลื่
อนไหวในพื้
นที่
สาธารณะของผู้หญิ
งในการจั
ดการ
ป่
าชุ
มชนจั
งหวั
ดล�ำพูน’ มี
ข้
อค้
นพบว่
า การเมื
องในชี
วิ
ตประจ�
ำวั
นไม่
ได้
จ�
ำกั
ดอยู่
เฉพาะบทบาทของผู้
ชายเท่
านั้
น เพราะผู้
หญิ
งในกรณี
ศึ
กษานี้
ก็
สามารถเข้
ามามี
บทบาทน�ำในการเมืองของพื้นที่สาธารณะได้ด้วย เมื่อผู้หญิงเข้ามาช่วยต่อรองกับ
รั
ฐเพื่
อให้
ได้
สิ
ทธิ
ชุ
มชนในการจั
ดการป่
า ที่
รั
ฐพยายามจะกี
ดกั
นชุ
มชนออกไป ทั้
งๆ ที่
ชาวบ้านได้ช่วยกั
นจั
ดการดูแลรั
กษาและใช้ประโยชน์มานานแล้ว
แม้
จะเคยเข้
าใจกั
นว่
าพื้
นที่
ของผู้
หญิ
งมั
กจะผูกติ
ดอยู่
กั
บครั
วเรื
อน แต่
เมื่
อ
ปั
ญหาของความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�ำนาจนั้
นคาบเกี่
ยวกั
บทั้
งสองพื้
นที่
ทั้
งป่
าในฐานะพื้
นที่
ในครัวเรือนที่ผู้หญิงใช้ประโยชน์ในการหาของป่า และป่าในฐานะพื้นที่สาธารณะ
ของสิทธิชุมชนที่
ก�
ำลังจะถูกลิ
ดรอน ซึ่งย่
อมจะกระทบต่
อความมั่นคงด้
านอาหาร