Previous Page  182 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 182 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

181

northern Thailand” (Walker 2008) พบว่

า ในช่

วงปลายทศวรรษที่

2540 เมื่

อรั

ฐบาลกระจาย

ทรั

พยากรเข้

ามาในชุ

มชนมากขึ้

น ชุ

มชนชายขอบก็

ตื่

นตั

วทางการเมื

องอย่

างมาก

ดั

งจะเห็

นได้จากกิ

จกรรมต่างๆ ทางการเมื

องของชาวบ้าน ในลั

กษณะที่

วอคเกอร์

เรี

ยกว่

า “การเมื

องในชี

วิ

ตประจ�

ำวั

น” ด้

วยการแสดงออกผ่

านความพยายาม

ผูกโยงแวดวงอ�

ำนาจท้

องถิ่

นให้

สั

มพั

นธ์

เกี่

ยวข้

องกั

บการเมื

องระดั

บชาติ

ที่

อยู่

ห่

างไกล

บนพื้

นฐานของการประเมิ

นคุ

ณค่

าในท้

องถิ่

น ที่

วอคเกอร์

เรี

ยกว่

า “ธรรมนูญชาวบ้

าน”

ซึ่

งคนในชนบทได้

น�ำมาใช้

เป็

นหลั

กอย่

างไม่

เป็

นทางการในการลงคะแนนเสี

ยงเลื

อก

นั

กการเมื

องให้

เป็

นตั

วแทนจากท้

องถิ่

น โดยเฉพาะการเลื

อกตั้งผู้

แทนราษฎร เช่

คุ

ณค่

าเรื่

องท้

องถิ่

นนิ

ยม ความเสี

ยสละ และคนท�

ำงานเก่

ง เป็

นต้

น ความตื่

นตั

ทางการเมื

องดั

งกล่

าวสะท้

อนถึ

งความต้

องการของชาวบ้

าน ในการดึ

งทรั

พยากร

จากภาครั

ฐให้เข้ามาสู่ชุ

มชนมากขึ้

นนั่

นเอง

ต่

อมาในภายหลั

งวอคเกอร์

ก็

ได้

ขยายการวิ

จั

ยกรณี

ศึ

กษาดั

งกล่

าวไปเป็

หนั

งสื

อเรื่

อง

Thailand’s Political Peasants: Power in the Modern Rural

Economy

(Walker 2012) โดยเสนอข้

อถกเถี

ยงเกี่

ยวกั

บสถานภาพทางการเมื

องของ

ชาวบ้

านว่

า ทั้

งๆ ที่

หมู่

บ้

านที่

ศึ

กษาเป็

นชุ

มชนที่

ตั้

งอยู่

ห่

างไกลจากศูนย์

กลางอ�

ำนาจ

แต่

เมื่

อชาวบ้

านมี

รายได้

เพิ่

มขึ้

นและมี

ชี

วิ

ตความเป็

นอยู่

ดี

ขึ้

น ตลอดจนรั

บรู้

ข้

อมูล

ข่าวสารมากขึ้น ชาวบ้านกลับเกิดแรงบันดาลใจทางการเมืองแบบใหม่ที่วอคเกอร์

เรี

ยกว่

า “แรงปรารถนาทางการเมื

อง” ในการเชื่

อมโยงกั

บอ�

ำนาจรั

ฐแทนที่

จะ

หลี

กเลี่

ยงรั

ฐ (Walker 2012: 57) จนท�

ำให้

ชุ

มชนท้

องถิ่

นชายขอบแห่

งนี้

ไม่

ได้

ด�

ำรงอยู่

ด้

วยการตั้

งรั

บหรื

อรอคอยความช่

วยเหลื

อเท่

านั้

น หากแต่

ได้

ก้

าวเข้

าสู่

การเป็

น “สั

งคม

การเมื

อง” แล้

ว ในความหมายที่

ว่

าชาวบ้

านจะมี

ปฏิ

สั

มพั

นธ์

เชิ

งบวกกั

บรั

ฐสมั

ยใหม่

เพื่

อต่

อรองทางการเมื

องให้

ได้

ประโยชน์

สูงสุ

ดจากโครงการต่

างๆ ของรั

ฐ แทนที่

มุ

มมองที่

ว่าชุ

มชนท้องถิ่

นถูกรั

ฐและตลาดก�ำกั

บและควบคุ

ม จนต้องหั

นมาต่อต้าน

รั

ฐด้

านเดี

ยวตามที่

เคยเชื่

อๆ กั

นมา ทั้

งนี้

เพราะชาวบ้

านได้

หั

นมาสร้

างกลยุ

ทธ์

ต่

างๆ ที่

ยั

งยึ

ดโยงอยู่

กั

บความเชื่

อทางจิ

ตวิ

ญญาณขึ้

นมา เพื่

อใช้

ดึ

งดูดอ�

ำนาจและทรั

พยากร

ของรั

ฐให้เข้ามาอยู่ในชี

วิ

ตทางสั

งคมและเศรษฐกิ

จของชุ

มชน และเพื่

อการด�

ำรงอยู่

ของชุ

มชนเอง (Walker 2012: 221)