Previous Page  179 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 179 / 272 Next Page
Page Background

178

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

มากขึ้

น ขณะที่

ต้องเผชิ

ญกั

บความเสี่

ยงใหม่ๆ เพราะเอาชี

วิ

ตไปผูกพั

นอยู่กั

บระบบ

ตลาดภายนอกชุ

มชน พร้

อมๆ กั

บพึ่

งพานโยบายของรั

ฐไปด้

วย ซึ่

งก็ตามมาด้

วย

ความขั

ดแย้

งใหม่

ๆ ในชุ

มชนเช่

นเดี

ยวกั

น แม้

จะต้

องเผชิ

ญกั

บความเสี่

ยงมากขึ้

แต่

กลุ

มคนในชุ

มชนท้

องถิ่

นที่

ก่

อตั

วขึ้

นมาใหม่

ๆ เหล่

านี้

ก็

แตกต่

างอย่

างสิ้

นเชิ

งกั

ชาวบ้านในเศรษฐกิจแบบศีลธรรม ที่อาจจะเคยมีอยู่ในอดีต เพราะพวกเขาไม่ได้

พยายามหลี

กเลี่

ยงความเสี่

ยงในระบบตลาดอี

กต่

อไป ตรงกั

นข้

ามกลั

บพยายาม

ฉกฉวยและแสวงหาโอกาสจากตลาดอย่

างเต็

มที่

ด้

วยการปรั

บตั

วอย่

างหลากหลาย

เพราะมี

ความคาดหวั

งในด้

านการบริ

โภคมากขึ้

นด้

วย โดยเฉพาะการบริ

โภคคุ

ณภาพ

ชีวิตที่ดี ในฐานะที่เป็นการช่วงชิงความหมายการพัฒนา ซึ่งเคยผูกติดอยู่กับด้าน

การผลิตที่ให้

ความส�

ำคั

ญกั

บรายได้

เท่

านั้

น ซึ่

งยศ สันตสมบัติ

เรียกว่

าเป็

นความ

ยืดหยุ่นของสังคมชาวนา (ยศ 2546) ขณะเดียวกันชาวบ้านก็ตื่นตัวทางการเมือง

มากขึ้

น ด้วยการพยายามเข้าไปต่อรองกั

บรั

ฐในลั

กษณะต่างๆ

ปฏิ

บั

ติ

การทางการเมื

องอย่

างหนึ่

งที่

เห็

นได้

อย่

างชั

ดเจนก็

คื

อ ความพยายาม

ที่จะเข้

าไปมีบทบาทในการเมืองท้

องถิ่นมากขึ้น ผ่

านระบบการเลือกตั้งท้

องถิ่นใน

ระดั

บต่

างๆ เพื่

อจะได้

มี

ส่

วนในการจั

ดการกั

บความเสี่

ยงต่

างๆ ด้

วยการต่

อรอง

กั

บนโยบายและการเมื

องในระดั

บสูงๆ ขึ้

นไปได้ ซึ่

งแสดงออกมาในกลุ่มของคนใน

ชุ

มชนท้

องถิ่

นที่

ก่

อตั

วขึ้

นมาใหม่

เช่

น กลุ

มชาวบ้

านที่

เคยไปท�

ำงานต่

างประเทศ

และกลั

บคื

นถิ่

น ดั

งตั

วอย่างในวิ

ทยานิ

พนธ์ของพรรณภั

ทร ปลั่

งศรี

เจริ

ญสุ

ข (2551)

เรื่

อง ‘อั

ตลั

กษณ์ของแรงงานข้ามชาติคื

นถิ่

นกั

บการต่อรองการพั

ฒนาของชาวบ้าน

ในจั

งหวั

ดล�

ำปาง’ งานวิ

จั

ยชิ้

นนี้

พบว่

า เมื่

อกลุ

มคนเหล่

านี้

กลั

บคื

นถิ่

นแล้

วมั

กจะ

ประกอบอาชี

พที่

คาบเกี่

ยวอยู่กั

บทั้

งภายในและภายนอกภาคการเกษตร เช่น การ

ก่อสร้างและการค้า พร้อมๆ กั

บท�ำการเกษตรควบคู่ไปด้วย ขณะเดี

ยวกั

นก็

อาศั

ประสบการณ์ที่

ได้รั

บมาจากต่างแดนเป็นเงื่

อนไขในการเพิ่

มสถานภาพและบทบาท

ของพวกตน ด้

วยการสร้

างอั

ตลั

กษณ์

ของพวกตนในฐานะผู้

มี

ทั

กษะในการติ

ดต่

ประสานงานและต่อรองกับหน่วยงานภายนอก เพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งท้องถิ่นใน

ระดั

บต่างๆ และได้รับเลื

อกเป็นผู้ใหญ่บ้านจนถึ

งสมาชิ

กองค์การบริ

หารส่วนต�ำบล