งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
177
ในช่วงทศวรรษที่ 2540 งานวิจัยของนั
กวิชาการชาวต่างประเทศหลายชิ้น
ได้โต้แย้งและปฏิเสธภาพสังคมชนบทแบบวัฒนธรรมชุมชนอย่างสิ้นเชิง ด้วยการ
น�ำเสนอกระบวนการที่ชุมชนท้องถิ่นภาคเหนือเข้าไปผูกพันกับระบบเศรษฐกิจโลก
ภายใต้
อุ
ดมการณ์
เสรี
นิ
ยมใหม่
ที่
เน้
นตลาดเป็
นพลั
งขั
บเคลื่
อนหลั
กทางเศรษฐกิ
จ ซึ่
ง
เปลี่
ยนให้
ชาวนามี
อาชี
พลูกผสมกั
บภาคนอกการเกษตรเพิ่
มขึ้
น จากการเข้
าไปผลิ
ต
หอมฝรั่
งแบบเกษตรพั
นธสั
ญญา จนท�
ำให้
เกษตรกรมี
ฐานะไม่
แตกต่
างจากแรงงาน
รั
บจ้
างบนที่
ดิ
นของตนเอง และการเข้
าไปเป็
นแรงงานในอุ
ตสาหกรรมเกษตร-อาหาร
เช่
น โรงงานผลิ
ตอาหารกระป๋
อง (Rigg and Sakunee 2001) นอกจากนั้
นยั
งมี
ธุ
รกิ
จจาก
ภายนอกขยายตั
วเข้
าไปในชุ
มชนเพิ่
มขึ้
น บนพื้
นฐานของช่
วงชิ
งการบริ
โภคความหมาย
ชนบทในอดีต เช่น โรงแรม ซึ่
งจ้างแรงงานในชุ
มชนด้วย (Rigg and Ritchie 2002)
ส�
ำหรั
บงานวิ
จั
ยของนั
กวิ
ชาการไทยนั้
น ส่
วนหนึ่
งจะหั
นมาสนใจศึ
กษา
การเปลี่
ยนแปลงของชุ
มชนท้
องถิ่
นอี
กครั้
งหลั
งทศวรรษที่
2550 ซึ่
งมั
กจะอยู่
ใน
รูปวิ
ทยานิ
พนธ์
เป็
นส่
วนใหญ่
แต่
ก็
ยื
นยั
นการเปลี่
ยนแปลงที่
เกิ
ดขึ้
นก่
อนหน้
านั้
น
เช่
นเดี
ยวกั
น ดั
งตั
วอย่
าง เช่
น วิ
ทยานิ
พนธ์
ของธั
ญลั
กษณ์
ศรี
สง่
า (2550) ศึ
กษาคนงาน
นอกระบบผู้
หญิ
งในอุ
ตสาหกรรมพื้
นบ้
านผลิ
ตผ้
าฝ้
ายทอมื
อ ส่
วนพรรณภั
ทร
ปลั่
งศรี
เจริ
ญสุ
ข (2551) ศึ
กษาชาวบ้
านที่
เคยเป็
นแรงงานข้
ามชาติ
กลั
บคื
นถิ่
น ขณะที่
ชาวบ้านบางส่วน แม้จะยั
งคงเป็นเกษตรกร แต่ก็
มี
สถานภาพก�่
ำกึ่
งไม่แตกต่างจาก
แรงงานมากนั
ก เมื่อหันเข้าไปพึ่งระบบการผลิตมันฝรั่งแบบเกษตรพันธสัญญาใน
ระบบอุ
ตสาหกรรมเกษตร-อาหาร (นาวิ
น 2554) และชาวบ้
านบางส่
วนก็
ต้
องกลายเป็
น
แรงงานอย่างเต็
มตั
ว เมื่
อเข้
าไปเป็นคนงานในโรงงานผลิ
ตอาหารแช่แข็
งเพื่
อส่งออก
ซึ่
งเป็
นส่
วนหนึ่
งของระบบอุ
ตสาหกรรมเกษตร-อาหารที่
เริ่
มเข้
ามาตั้
งโรงงานใกล้
ชุ
มชน จนท�
ำให้
พวกเขาต้
องเผชิ
ญกั
บชี
วิ
ตผกผั
นที่
เต็
มไปด้
วยความเสี่
ยงต่
างๆ มากขึ้
น
เพราะต้องตกอยู่ภายใต้การก�
ำกั
บควบคุ
มของโรงงาน (สื
บสกุ
ล 2554)
การที่ชุมชนท้องถิ่
นได้
เข้
าไปผูกพันกั
บระบบเศรษฐกิจโลกอย่
างแนบแน่น
เช่
นนี้
ผลที่
ตามมาอย่
างหนึ่งคื
อการก่
อตั
วขึ้
นมาของกลุ
่
มชนชั้
นกลางใหม่
อย่
าง
หลากหลายในชุ
มชน ที่
มี
ฐานะดี
ขึ้
นด้วยการมี
ชี
วิ
ตคาบเกี่
ยวอยู่กั
บภาคนอกเกษตร