Previous Page  177 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 177 / 272 Next Page
Page Background

176

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

พอล โคเฮน (Cohen 2000 และ 2001) พบว่

า ชุ

มชนท้

องถิ่

นยั

งน�

ำคติ

ในพุ

ทธศาสนามาใช้

ใน

การต่

อต้

านการครอบง�

ำจากสั

งคมภายนอก โดยเฉพาะคติ

เรื่

องพระศรี

อาริ

ยเมตไตรย

ผ่

านการน�

ำของพระสงฆ์

ที่

ชาวบ้

านเคารพนั

บถื

อเป็

นครูบา ซึ่

งมี

นั

ยเสมื

อน

เป็

นตนบุ

ญ ที่

มาช่

วยให้

ชาวบ้

านปรั

บตั

วต่

อการเปลี่

ยนแปลง ขณะที่

แอนดรู

เทอร์

ตั

น (Turton 1991) เสนอว่

าความคิ

ดในการต่

อต้

านรั

ฐนั้

นมี

อยู่

แล้

วในความรู้

ท้

องถิ่

โดยเฉพาะในคติ

เรื่

อง ข่

าม ซึ่

งหมายถึ

งการอยู่

ยงคงกระพั

น คติ

ท้

องถิ่

นดั

งกล่

าวจึ

งมี

ส่

วนช่

วยเสริ

มสร้

างให้

ชาวบ้

านไม่

ยอมจ�

ำนนต่

ออ�

ำนาจจากภายนอกอย่

างง่

ายๆ ทั้

งยั

อาจชั

กน�

ำให้

ดิ้

นรนต่

อสู้

และต่

อต้

าน ในกรณี

ที่

ถูกเอารั

ดเอาเปรี

ยบ ในท�

ำนองเดี

ยวกั

อนั

นดา ราชา (Rajah 2005) ก็ได้ชี้ให้เห็นว่า ชาวบ้านยังสามารถน�ำเอาความเชื่อ

ท้

องถิ่

นอื่

นๆ เช่

น ไสยศาสตร์

และการสาปแช่

งมาใช้

ในการต่

อต้

านรั

ฐอี

กด้

วย

ดั

งในกรณี

ของการต่

อต้

านรั

ฐบาลเผด็

จการทหารของพลเอกสุ

จิ

นดา คราประยูร

ในช่

วงพฤษภาทมิฬปี

2535 เพื่

อแสดงสถานภาพทางศี

ลธรรมของตนในการต่

อสู้

ทางการเมื

องว่าอยู่เหนื

อกว่าอ�

ำนาจเผด็

จการ

ที่

จริ

งแล้

ว ความแตกต่

างและความขั

ดแย้

ง ทั้

งความสั

มพั

นธ์

ภายในและ

ความสั

มพั

นธ์

กั

บภายนอกชุ

มชนท้

องถิ่

นนั้

น เกี่

ยวพั

นและเชื่

อมโยงอยู่

กั

บพลวั

ตของ

ชุ

มชนท้

องถิ่

นโดยตรง เพราะนั

บตั้

งแต่

ช่

วงหลั

งทศวรรษ 2530 เป็

นต้

นมา ชุ

มชนท้

องถิ่

ในภาคเหนื

อได้

เปลี่

ยนแปลงไปอย่

างรวดเร็

วมาก จากการถูกผนวกรวมเข้

าเป็

ส่

วนหนึ่

งของระบบเศรษฐกิ

จทุ

นนิ

ยมโลกอย่

างแนบแน่

น ดั

งจะเห็

นได้

จากการศึ

กษา

ของ เจนนิ

เฟอร์ เกรย์ (Gray 1990) ซึ่

งพบว่าชาวบ้าน โดยเฉพาะหญิ

งสาวได้ออก

มาท�

ำงานนอกภาคเกษตรในเมื

องเชี

ยงใหม่

กั

นอย่

างล้

นหลาม ขณะที่

ทั้

งทุ

นและรั

ฐก็

ขยายตั

วเข้

ามาในชุ

มชนมากขึ้

นด้

วย ในรูปของโครงการและนโยบายต่

างๆ รวมทั้

งการ

ขยายตั

วของการปกครองท้

องถิ่

น ด้

วยการจั

ดตั้

งองค์

กรปกครองท้

องถิ่

น เช่

น องค์

การ

บริ

หารส่

วนต�

ำบล (หรื

อ อ.บ.ต) จากนโยบายการกระจายอ�

ำนาจจากส่

วนกลาง

ซึ่

งตามมาด้

วยการเลื

อกตั้

งสมาชิ

กองค์

กรท้

องถิ่

นในชุ

มชน (Bowie 2008) จนปรากฏ

ให้

เห็

นได้

อย่

างชั

ดเจนจากการลดลงของชาวบ้

านที่

พึ่

งพาภาคเกษตรกรรม และ

การเพิ่

มขึ้

นของความหลากหลายของอาชี

พของชาวบ้าน (ยศ 2546)