12
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
ของนั
กมานุ
ษยวิ
ทยาจากมหาวิ
ทยาลั
ยคอร์
แนลล์
และร่
วมกั
บนั
กวิ
ชาการไทยจ�
ำนวน
หนึ่
ง อาทิ
เช่
น สุ
เทพ สุ
นทรเภสั
ช และภายหลั
งได้
เขี
ยนขึ้
นเป็
นรายงานชื่
อ ‘A Report on
Tribal People in Chiengrai Province, North of the Mae Kok River’ (Hanks et. al. 1964)
รายงานชิ้
นนี้
เขี
ยนขึ้
นในปี
พ.ศ. 2507 ซึ่
งเป็
นช่
วงเวลาเดี
ยวกั
นกั
บการตั้
งมหาวิ
ทยาลั
ย
เชี
ยงใหม่
และในปี
ถั
ดมาก็
มี
การจั
ดตั้
งศูนย์
วิ
จั
ยชาวเขา โดยมี
William Robert Geddes
เป็นหัวเรี่
ยวหั
วแรงคนส�ำคั
ญ และเป็นนั
กวิ
จั
ยที่
ศึ
กษากลุ่มชาติ
พั
นธุ์ม้งอย่างจริ
งจั
ง
เป็นคนแรกๆ ต่อมาภายหลั
งได้พิ
มพ์ผลงานวิ
จั
ยเป็นหนั
งสื
อเรื่
อง Migrants of the
Mountains: the Cultural Ecology of the Blue Miao (Hmong Njua) of Thailand (Geddes
1976) ซึ่
งช่วยเสริ
มสร้างความเข้าใจวั
ฒนธรรมของชาวม้งและการปรั
บตั
วของพวก
เขาภายใต้บริบทเชิ
งนิ
เวศได้อย่างมาก
หลั
งจากการจั
ดตั้งมหาวิ
ทยาลั
ยเชี
ยงใหม่
ขึ้
นในปี
พ.ศ. 2507 นั
กวิ
ชาการ
ไทยในสถาบั
นก็
ได้
เริ่
มหั
นมาสนใจศึ
กษาวั
ฒนธรรมและเริ่
มตี
พิ
มพ์
ผลงานวิ
จั
ยใน
ช่วงปลายทศวรรษที่
2510 ด้วยการเริ่
มต้นแปลหนั
งสื
อส�
ำคั
ญๆ ทางประวั
ติ
ศาสตร์
และวรรณกรรม ดั
งเช่นงานของ สมหมาย เปรมจิ
ตต์ และ ปวงค�ำ ตุ้ยเขี
ยว เรื่
อง
มังรายศาสตร์
(2518) และงานของ
ส
ิ
งฆะ วรรณสั
ย
เรื่
อง
อุสสาบารส วรรณกรรม
ลานนาไทยสมัยพระเจ้ากือนา
แปลโดย สิ
งฆะ วรรณสั
ย (2519) เป็
นต้
น
ในช่
วงแรก
นี้
ถื
อว่
าเป็
นช่
วงของการวางรากฐานการศึ
กษาวั
ฒนธรรม ซึ่
งให้
ความส�
ำคั
ญกั
บ
การเตรี
ยมค้นคว้าหรื
อประมวลรวบรวมเอกสารต่างๆ ที่
เขี
ยนบนใบลาน
ในช่
วงหลั
งปี
พ.ศ. 2520 ก็
เกิ
ดกระแสท้
องถิ่
นศึ
กษาเพิ่
มขึ้
น จากการขยายตั
ว
ของสั
งคมไทย ที่
เริ่
มหั
นกลั
บมาเห็
นว่
าประเทศไทยมี
ท้
องถิ่
นต่
างๆ ที่
แตกต่
างกั
น
อยู่
หลายพื้
นที่
ขณะนั้
นถื
อเป็
นกระแสความคิ
ดที่
คึ
กคั
กอย่
างมาก จริ
งๆ แล้
วกระแส
นี้
ก็
เป็
นส่
วนหนึ่
งของกระแสที่
มาจากส่
วนกลาง โดยเฉพาะอย่
างยิ่
งกระทรวงศึ
กษาที่
ต้องการจะส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น แทนที่ก่อนหน้านั้
น ที่เรามุ่งสนใจแต่กระแส
ของรั
ฐชาติ
จากปี 2520 เป็นต้นมา กระแสในวงวิ
ชาการก็
เริ่
มหั
นกลั
บมาให้ความ
ส�
ำคัญกั
บเรื่องท้
องถิ่
น ที่
เน้
นถึ
งความแตกต่
างหลากหลายของท้
องถิ่
นต่
างๆ การ
ศึกษาวัฒนธรรมล้
านนาก็เป็นส่
วนหนึ่
งของกระแสนั้
นด้วย นั
กวิจัยเริ่มต้
นหันกลับ
มามองตนเองว่าการศึ
กษาก็
ต้องมี
ข้อมูลหลั
กฐาน