174
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
เป็นภูมิปัญญาที่มีศักยภาพและพลวัตในการปรับตัวกับการพัฒนา มาสู่มิติที่สอง
ด้วยการมองว่า ความรู้เป็นทุนทางวัฒนธรรม ที่สามารถเปลี่ยนให้เป็นกลยุทธ์ใน
การสร้
างอั
ตลั
กษณ์
เมื่
ออยู่
ในบริ
บทของการปรั
บเปลี่ยนความสั
มพั
นธ์
เชิ
งอ�
ำนาจ
ส่
วนมิติที่สามคือการมองความรู้
ในรูปของปฏิบั
ติการของการช่
วงชิงความหมาย
และมิติที่สี่หันมามองความรู้ ในรูปของปฏิบัติการของการผสมผสานความรู้ต่างๆ
ตามสถานการณ์ รวมทั้งสามารถน�
ำมาด้นไปตามสถานการณ์ ซึ่งช่วยให้กลุ่มชน
ต่
างๆ สามารถเลื
อกกลยุ
ทธ์
ในการปรั
บตั
วด้
านการพั
ฒนาได้
อย่
างหลากหลาย และ
เคลื่
อนไหวได้ในหลายระดั
บ ทั้
งในระดั
บชุ
มชน และในความสั
มพั
นธ์กั
บหน่วยงาน
และองค์กรภายนอก ตลอดจนระดับของขบวนการเคลื่
อนไหวทางสั
งคม
4.4 พลวัตของชุมชนท้องถิ่นในการเมืองของการต่อรอง
ความหมายและความรู้
การศึกษาชุมชนชนบทภาคเหนือในบริบทของการพัฒนาระยะแรกๆ (ของ
ทศวรรษ 2520) โดยเฉพาะในหมู่
นั
กวิ
ชาการไทย และนั
กพั
ฒนาเอกชนมั
กจะผูก
ติ
ดอยู่กั
บมุ
มมองแบบวั
ฒนธรรมชุ
มชน ซึ่
งเน้นความกลมกลื
นกั
นในชุ
มชน ภายใต้
ศี
ลธรรมของการช่
วยเหลื
อเกื้
อกูลกั
น ที่
ถื
อกั
นว่
าเป็
นศั
กยภาพทางวั
ฒนธรรมใน
การร่วมมื
อกั
นจั
ดการวิ
ถี
ชี
วิ
ตด้านต่างๆ ของตนเอง เมื่
อต้องเผชิ
ญกั
บภั
ยของระบบ
ทุ
นนิ
ยมจากภายนอก มุ
มมองเช่
นนี้
มี
อิ
ทธิ
พลอย่
างมากต่
อแนวทางการพั
ฒนาชนบท
ดั
งจะเห็
นได้
ผ่
านความทรงจ�
ำของทั้
งนั
กพั
ฒนาและชาวบ้
าน (Delcore 2003) แม้
แต่
ใน
งานวิ
จั
ยช่
วงหลั
งจากปี
2540 แล้
วก็
ตาม มุ
มมองต่
อชุ
มชนท้
องถิ่
นเช่
นนี้
ก็
ยั
งคงด�
ำรง
อยู่อย่างชั
ดเจน ดั
งตั
วอย่างงานวิ
จั
ยเรื่
อง
ชุมชนหมู่บ้านลุ่มน�้ำขาน
ของพรพิ
ไล
เลิ
ศวิ
ชาและอรุ
ณรั
ตน์ วิ
เชี
ยรเขี
ยว (2546) ซึ่
งก็
ยั
งคงตอกย�้
ำภาพชนบทตามมุ
มมอง
แบบวั
ฒนธรรมชุมชนอย่างชั
ดเจน
ทั้
งๆ ที่
ในช่
วงทศวรรษที่
2520 ผู้
เขี
ยนได้
เคยพยายามชี้
ให้
เห็
นว่
าชุ
มชนท้
องถิ่
น