Previous Page  173 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 173 / 272 Next Page
Page Background

172

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

พิ

ธี

กรรมขึ้

นมาใหม่

ในช่

วงของการรณรงค์

เคลื่

อนไหวต่

อต้

านการสร้

างโรงเลื่

อยไม้

ใน

ป่าสน เพื่

อต่อต้านอ�

ำนาจจากภายนอกและปกป้องตั

วเอง (Hayami 1997: 569) ใน

รูปแบบของพิ

ธี

บวชป่า ด้วยการผสมผสานทั้

งความเชื่

อแบบผี

และคุ

ณค่าแบบพุ

ทธ

ซึ่

งแฝงไว้

ด้

วยวาทกรรมการอนุ

รั

กษ์

บนพื้

นฐานของคุ

ณค่

าที่

อยู่

ในการท�

ำไร่

หมุ

นเวี

ยน

ตามประเพณี

ทั้

งๆ ที่ชาวปกาเกอะญอส่

วนมากมุ่

งจะท�

ำนาด�

ำเพิ่มขึ้

นแล้วก็ตาม

พิ

ธี

บวชป่

าดั

งกล่

าวจึ

งเป็

นอี

กตั

วอย่

างหนึ่

งของปฏิ

บั

ติ

การของการปรั

บใช้

ความรู้

ท้

องถิ่

นตามสถานการณ์

ในเชิ

งกลยุ

ทธ์

ทั้

งในฐานะวาทกรรมของความเป็

นชุ

มชน

เพื่

อสื่

อกั

บชาวบ้

านด้

วยกั

นเองภายในชุ

มชนให้

ผนึ

กตั

วกั

น และในฐานะวาทกรรม

ต้

าน เพื่

อสื่

อสารกั

บชาวพื้

นราบภายนอกว่

า พวกเขาทั้

งผูกพั

นอยู่

กั

บป่

าและสามารถ

อนุ

รั

กษ์ป่าได้ ในการสร้างความชอบธรรมที่

จะอาศั

ยอยู่ในป่าต่อไป จนปฏิ

บั

ติ

การ

ของชาวบ้

านที่

ไร้

อ�ำนาจได้

ส่

งเสี

ยงเป็

นแรงบั

นดาลใจให้

กั

บขบวนการเคลื่

อนไหวด้

าน

สิ่

งแวดล้

อมในสั

งคมไทย ซึ่

งหวลกลั

บมาช่

วยหนุ

นเสริ

มให้

พวกเขาสามารถผลั

กดั

องค์การอุ

ตสาหกรรมป่าไม้ต้องยกเลิ

กโครงการไปในที่

สุ

ด (Hayami 1997: 574-575)

นอกจากพิ

ธี

บวชป่

าจะเป็

นปฏิ

บั

ติ

การด้

านวาทกรรม ในการสร้

างความ

ชอบธรรมให้

กั

บคุ

ณธรรมของการอนุ

รั

กษ์

ธรรมชาติ

ในความคิ

ดสิ่

งแวดล้

อมนิ

ยม

แล้ว ยั

งแสดงนั

ยของการช่วงชิ

งความหมายและต่อต้านวาทกรรมการพั

ฒนา ที่

มุ่ง

จะแสวงหาประโยชน์จากทรั

พยากรธรรมชาติ

ด้านเดี

ยวอี

กด้วย แต่หากจะมองจาก

สายตาของฝ่ายที่มีอ�ำนาจแล้ว ทั้งวาทกรรมการอนุรักษ์และวาทกรรมการพัฒนา

ล้

วนเป็

นปฏิ

บั

ติ

การของการผูกขาดการนิ

ยามความหมายเพื่

อการครอบง�

ำ ซึ่

งมั

เกี่

ยวข้องกั

บความพยายามที่

จะสถาปนาอ�

ำนาจเหนื

อพื้

นที่

(Territorialization) หรื

การกีดกันผู้ไร้อ�ำนาจออกจากพื้นที่

ภายใต้การสถานการณ์ดังกล่าว ผู้ไร้อ�ำนาจก็

สามารถต่

อต้

านวาทกรรมครอบง�

ำ ผ่

านปฏิ

บั

ติ

การของพิ

ธี

บวชป่

าได้

เช่

นเดี

ยวกั

ดั

งตั

วอย่

างในบทความวิ

จั

ยเรื่

อง “Contesting landscape in Thailand: tree ordination

as counter-territorialization” (Lotte and Ivarsson 2002) ซึ่

งพบว่า ภายใต้กระแส

สิ่

งแวดล้อมนิ

ยมทางพุ

ทธศาสนา ที่

บางส่วนสนั

บสนุ

นการสถาปนาอ�

ำนาจรั

ฐเหนื

พื้นที่

และกีดกันชาวบ้

านออกจากพื้

นที่ป่

า ด้

วยการกล่

าวหาว่

าพวกเขาท�

ำลายป่