Previous Page  172 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 172 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

171

เก่าๆ ออกไปได้อีกด้วย ซึ่งจัดว่าเป็นการช่วงชิงความรู้ในระบบการจัดการการใช้

ทรั

พยากรอี

กทางหนึ่

ง (Tomforde 2003: 357-359) ผ่

านปฏิ

บั

ติ

การเกี่

ยวกั

บการอนุ

รั

กษ์

ป่

า เพื่

อต่

อรองให้

รั

ฐยอมรั

บสิ

ทธิ

ที่

จะให้

พวกเขาอยู่

กั

บป่

าต่

อไปได้

การที่

กลุ

มชน

สามารถผสมผสานความรู้

ต่

างๆ เข้

ามาได้

ด้

วยตนเองเช่

นนี้

แสดงให้

เห็

นอย่

างชั

ดเจน

ว่า ความรู้ท้

องถิ่นไม่

จ�

ำเป็

นต้องอยู่

ในรูปขององค์

ความรู้

ที่ด�

ำรงอยู่แล้

วอย่

างหยุด

นิ่

งและตายตั

วตามความคิ

ดแบบแก่

นสารนิยม แต่

อาจจะแสดงออกมาในรูปของ

ปฏิ

บั

ติ

การที่

สามารถปรั

บเปลี่

ยนและผสมผสานกั

นอยู่เสมอตามสถานการณ์ (Situ-

ated Knowledge as Practice) เพื่

อการต่อรองในบริ

บทของความสั

มพั

นธ์เชิ

งอ�

ำนาจ

ที่

ไม่เท่าเที

ยมกั

นก็

ได้เช่นเดี

ยวกั

น (ดู Nygren 1999)

การต่

อรองและช่

วงชิ

งความรู้

ดั

งกล่

าวยั

งแสดงออกอย่

างหลากหลายรูปแบบ

โดยเฉพาะกรณี

ของปฏิ

บั

ติ

การด้

านวั

ฒนธรรมในลั

กษณะต่

างๆ เช่

น พิ

ธี

กรรมร่

วมกั

ของความเป็

นชุ

มชน (Ritual of Communality) ดั

งกรณี

ศึ

กษาของ ฮายามิ

เรื่

อง

“Internal and external discourse of communality, tradition and environment: minority

claims on forest in the northern hills of Thailand” (Hayami 1997) ซึ่

งพบว่า ชาว

ปกาเกอะญอ ที่

บ้

านวั

ดจั

นทร์

อ�

ำเภอแม่

แจ่

2

จั

งหวั

ดเชี

ยงใหม่

ได้

ร่

วมกั

นจั

ดพิ

ธี

บวชป่

ขึ้นมา เพื่อสื่อสารเชิงวาทกรรมกับทั้งชาวบ้านภายในชุมชนด้

วยกันเองและสังคม

ภายนอก เมื่

อต้องเผชิ

ญกั

บภั

ยจากภายนอก เนื่

องจากองค์การอุ

ตสาหกรรมป่าไม้

ได้

พยายามเข้

ามาสร้

างโรงเลื่

อยไม้

ในป่

าสน ที่

อยู่

ในเขตป่

าต้

นน�้

ำ พวกเขาจึ

งกลั

วว่

ป่

าต้

นน�้

ำจะถูกท�

ำลายและกระทบต่

อการท�

ำนาด�

ำแบบขั้

นบั

นได แม้

การท�

ำนาจะเป็

งานของแต่

ละครั

วเรื

อน ทั้

งชุ

มชนก็

ต้

องร่

วมกั

นจั

ดการน�้

ำส�

ำหรั

บใช้

ท�

ำนา และเคยจั

ท�

ำพิ

ธี

กรรมของชุ

มชนเพื่

อช่

วยจรรโลงส�

ำนึ

กร่

วมกั

นมาก่

อนก็

ตาม แต่

พิ

ธี

กรรมเหล่

านั้

ก็

ค่อยๆ เสื่

อมสลายหายไป หลั

งจากหั

นไปรั

บศาสนาคริ

สต์และพุ

ทธแทนความเชื่

เรื่

องผี

แบบเดิ

ม จนท�

ำให้

สายตระกูลของผู้

น�

ำพิ

ธี

กรรมขาดช่

วงไปด้

วย ขณะที่

ชาวบ้

าน

ในชุ

มชนต่างก็

แข่งขั

นและช่วงชิ

งทรั

พยากรกั

นมากขึ้

น (Hayami 1997: 565-568)

ภายใต้

สถานการณ์

ล่

อแหลมดั

งกล่

าว ชาวบ้

านวั

ดจั

นทร์

ได้

หั

นกลั

บไปพลิ

กฟื

2 ปัจจุ

บั

นคื

ออ�

ำเภอกั

ลยาณิ

วั

ฒนา