Previous Page  171 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 171 / 272 Next Page
Page Background

170

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ท้

องถิ่

นเชิ

งอนุ

รั

กษ์

อย่

างดี

แต่

กลั

บไม่

สามารถใช้

ความรู้

ท้

องถิ่

นนั้

นของตนในการ

จัดการทรัพยากรป่

าเชิ

งอนุ

รักษ์

ได้

ตามข้

อสรุ

ปแบบ “ฉั

นทามติ

ของชาวกะเหรี่

ยง”

อีกทั้งยังไม่สามารถช่วงชิงความรู้ในการพัฒนาทางเลือกได้ด้วย เพราะผลกระทบ

ของความคิ

ดสิ่

งแวดล้

อมนิ

ยมในฐานะวาทกรรมระดั

บโลกได้

ส่

งอิ

ทธิ

พลกดดั

นลง

มาอย่างหนั

กในระดั

บท้องถิ่

น ด้วยการช่วงชิ

งระบบการใช้ทรั

พยากรไปจากท้องถิ่

ผ่านการสร้างข้อจ�

ำกั

ดต่างๆ ในการใช้พื้

นที่

ป่า พร้อมทั้

งผลั

กดั

นและส่งเสริ

มให้คน

บนที่

สูงเปลี่

ยนระบบการเกษตร จากการเกษตรแบบย้

ายที่

ให้

มาเป็

นการปลูกพื

พาณิ

ชย์บนแปลงการเกษตรแบบถาวรแทน จนชาวปกาเกอะญอไม่สามารถรั

กษา

ความรู้

ท้

องถิ่

นของตน ซึ่

งเกี่

ยวพั

นอย่

างแนบแน่

นกั

บการท�ำไร่

หมุ

นเวี

ยน และน�

มาใช้

ในการอนุ

รั

กษ์

ป่

าได้

อี

กต่

อไป โดยพวกเขาปรั

บกลยุ

ทธ์

การพั

ฒนาด้

วยการ

หลีกเลี่ยงความขัดแย้งกับรัฐ และหันไปปลูกพืชพาณิ

ชย์ในที่นาขั้นบันไดหลังจาก

การท�

ำนาด�

ำมากขึ้

น เพื่

อแสวงหาเงิ

นรายได้

ให้

ทั

นกั

บค่

าครองชี

พที่

เพิ่

มขึ้

นอย่

าง

รวดเร็

ว จนบางคนถึ

งกั

บเลิ

กปลูกข้

าวและเปลี่

ยนนาขั้

นบั

นไดไปปลูกพื

ชพาณิ

ชย์

ทั้

งหมดแล้

วด้

วยซ�้

ำไป พร้

อมๆ กั

บหั

นไปพึ่

งพาความรู้

และความช่

วยเหลื

อจากหน่

วย

งานของรั

ฐมากขึ้

น (Tomforde 2003: 354-356)

ส�

ำหรั

บกรณี

ของชาวม้

ง อาจจะดูเหมื

อนไม่

ได้

มี

ความรู้

ท้

องถิ่

นในการจั

ดการ

เชิ

งอนุ

รั

กษ์

อย่

างชั

ดเจนมาก่

อนเท่

ากั

บกรณี

ของชาวปกาเกอะญอ แต่

พวกเขากลั

บมี

กลยุ

ทธ์

ในการปรั

บตั

วตอบโต้

กั

บแรงกดดั

นจากวาทกรรมการพั

ฒนาและการอนุ

รั

กษ์

ระดั

บโลกในทางตรงกั

นข้

าม แม้

ว่

าจะถูกกดดั

นและก�

ำกั

บควบคุ

มการใช้

พื้

นที่

ป่

ไม่แตกต่างจากชาวปกาเกอะญอก็ตาม ในด้านหนึ่

งพวกเขาจะปรับกลยุทธ์ในการ

แสวงหารายได้จากแหล่งที่

มาอย่างหลากหลายมากขึ้

น โดยเฉพาะรายได้นอกภาค

การเกษตร ในอี

กด้

านหนึ่

งแทนที่

พวกเขาจะหลี

กเลี่

ยงความขั

ดแย้

งแบบชาว

ปกาเกอะญอ พวกเขากลั

บเลื

อกที่

จะหลี

กเลี่

ยงแรงกดดั

นจากภายนอก ด้

วยการริ

เริ่

ปกป้องรั

กษาป่ารอบๆ หมู่บ้านด้วยตนเอง โดยค่อยๆ เรี

ยนรู้จากความรู้ภายนอก

ชุมชนและผสมผสานเข้ามาเป็นความรู้ท้องถิ่นของตนในที่สุด ทั้งนี้

ก็เพื่อพิสูจน์ว่า

พวกเขาสามารถรั

กษาป่

าได้

เช่

นเดี

ยวกั

น และยั

งช่

วยลบล้

างภาพลั

กษณ์

ด้

านลบ