Previous Page  170 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 170 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

169

นิ

ยามความหมายของต้

นน�้

ำ บนพื้

นฐานของความรู้

ท้

องถิ่

น ที่

ไม่

ใช่

เป็

นความรู้

ตายตั

วแบบแก่

นสารนิ

ยม หากแต่

เป็

นความรู้

ผ่

านการปฏิ

บั

ติ

การเกี่

ยวข้

องกั

บวิ

ถี

การ

ด�

ำรงชี

วิ

ตที่

ปรั

บเปลี่

ยนอยู่

ตลอดเวลา นอกจากจะนิ

ยามป่

าต้

นน�้

ำว่

าเป็

นป่

าศั

กดิ์

สิ

ทธิ์

ที่

พวกเขาอนุ

รั

กษ์

ไว้

ด้

วยเช่

นเดี

ยวกั

นแล้

ว พวกเขายั

งอธิ

บายอี

กด้

วยว่

า การท�ำลายป่

ในพื้นที่

ท�ำกินของพวกเขานั้

น มี

ที่มาที่ไปจากประวั

ติ

ศาสตร์

ของความสั

มพันธ์

กับ

อ�

ำนาจภายนอกที่

ซั

บซ้อน โดยเฉพาะนโยบายปราบปรามการปลูกฝิ่น ด้วยการส่ง

เสริ

มการปลูกพื

ชทดแทนฝิ่

น ผ่

านโครงการพั

ฒนาที่

สูงต่

างๆ ซึ่

งส่

งผลกระทบต่

อการ

ท�

ำลายป่

าเพื่

อขยายที่

เพาะปลูกเพิ่

มขึ้

น ในขณะที่

พวกเขาพยายามแสวงหาทางเลื

อก

ในการจัดการป่าใหม่ๆ ด้วยการปรับเปลี่ยนระบบการเพาะปลูกพืช เช่น ลดพื้นที่

ปลูกผั

กกล�่

ำปลี

ลง และหั

นไปปลูกไม้ผลยื

นต้นต่างๆ แทนที่

พร้อมๆ กั

บทดลองจั

พื้นที่บางส่วนรอบๆ หมู่บ้านเป็นป่าชุมชนด้วย ซึ่งแสดงถึงความพยายามปรับตัว

ของคนม้

งต่

อแรงกดดั

นจากกระแสของการอนุ

รั

กษ์

เพื่

อต่

อรองกั

บอ�

ำนาจจาก

ภายนอก ที่

จะเอื้

อให้พวกเขาสามารถอยู่กั

บป่าต่อไปได้ (Pinkaew 2000: 67-68)

กรณี

ศึ

กษาเช่

นนี้จึ

งบ่

งบอกอย่

างชั

ดเจนว่

า การช่

วงชิ

งการนิ

ยามความรู้

ของกลุ่มชนต่างๆ นั้

นส่งผลต่อการแสวงหาทางเลื

อกในการพั

ฒนาและการอนุ

รั

กษ์

ไปด้

วยพร้

อมๆ กั

น ด้

วยเหตุ

ที่

การมองความรู้

ท้

องถิ่

นไม่

สามารถมองอย่

างเหมารวม

และตายตั

วได้

เพราะแนวคิ

ดใหม่

ที่

ได้

รั

บจากกรณี

ศึ

กษานี้ก็

คื

อ ความรู้

ท้

องถิ่

สามารถแสดงออกผ่

านปฏิ

บั

ติ

การของกลุ

มชน ที่

ปรั

บเปลี่

ยนอยู่

ตลอดเวลา โดย

เฉพาะในบริ

บทของการช่

วงชิ

งความรู้

ในเรื่

องต่

างๆ ซึ่

งมี

นั

ยส�

ำคั

ญต่

อการช่

วงชิ

ความรู้ในการพั

ฒนานั่

นเอง

แต่

การวิ

จั

ยของนั

กวิ

ชาการชาวต่

างประเทศ เช่

น บทความที่

สรุ

ปมาจาก

วิ

ทยานิ

พนธ์ปริ

ญญาเอกของ ทอมฟอร์ด เรื่

อง “The global in the local: contested

resource-use of the Karen and Hmong in northern Thailand” (Tomforde 2003)

ซึ่

งศึ

กษาทั้

งชุ

มชนชาวปกาเกอะญอและชาวม้

งในเขตอุ

ทธยานแห่

งชาติ

ดอย

อิ

นทนนท์

พบว่

า กลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ทั้

งสองเลื

อกที่

จะตอบโต้

กั

บวาทกรรมการพั

ฒนาและ

การอนุ

รั

กษ์

ระดั

บโลกแตกต่

างกั

น ในกรณี

ของชาวปกาเกอะญอ ซึ่

งเดิ

มเคยมี

ความรู้