Previous Page  166 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 166 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

165

ท้

องถิ่

น เพื่

อเสริ

มการแสดงตนเป็

นผู้

อนุ

รั

กษ์

ป่

าด้

วย ในความพยายามต่

อรองกั

บรั

เพื่

อให้ได้สิ

ทธิ

การอยู่อาศั

ยในเขตป่า (Aranya 2006)

นอกเหนื

อจากใช้

เป็

นกลยุ

ทธ์

ส่

วนหนึ่

งในการต่

อรองอั

ตลั

กษณ์

แล้

ความพยายามของคนม้งในการจั

ดการป่าเชิ

งอนุ

รั

กษ์ดั

งกล่าวแสดงว่า คนม้งยั

งได้

หันมาสนใจกับการปรับใช้ความรู้ทางวัฒนธรรมในชาติพันธุ์ของตนมากขึ้น ซึ่งถือ

เป็นความรู้ท้องถิ่นประเภทหนึ่

ง เพื่อพัฒนาทางเลือกใหม่ๆ ในปรับเปลี่ยนวิธีการ

จั

ดการทรั

พยากร ทั้

งการจั

ดการป่

าและการเกษตรในเขตป่

าด้

วย ดั

งจะพบในงานวิ

จั

ต่

อๆ มาอี

กหลายชิ้

นทั้

งในกรณี

ของคนม้

ง เช่

น งานของ อภั

ย วาณิ

ชประดิ

ษฐ์

(2548)

และชาวปกาเกอะญอ เช่

น วิ

ทยานิ

พนธ์

ของ ทรงพล รั

ตนวิ

ไลลั

กษณ์

(2546) เป็

นต้

4.3 ความรู้ท้องถิ่นกับการช่วงชิงความรู้ในการพัฒนาพื้นที่สูง

เมื่อการพัฒนากระแสหลักถูกมองว่า อาจจะแฝงไว้ด้วยวาทกรรมครอบง�

เพราะพยายามยัดเหยียดความรู้ชุดหนึ่

ง บนพื้นฐานของความรู้แบบวิทยาศาสตร์

ให้เป็นความรู้ที่

แท้จริ

งเพี

ยงชุ

ดเดี

ยว ด้วยเหตุ

นี้

เอง ในความพยายามที่

จะแสวงหา

ทางเลื

อกใหม่

ให้

กั

บการพั

ฒนา ในระยะแรกๆ การวิ

จั

ยในมิ

ติ

วั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนา

จึงเริ่มหันมาสนใจชุดความรู้

อื่นๆ และมักจะลงเอยกับความรู้

ในลักษณะที่เป็

นคู่

ตรงกั

นข้

ามกั

บชุ

ดความรู้

สากลแบบวิ

ทยาศาสตร์

ส่

วนหนึ่งก็

เพราะอิ

ทธิ

พลของ

กระแสของวาทกรรมท้

องถิ่

นนิ

ยมในขณะนั้

น ที่

พยายามตอบโต้

กั

บกระแสโลกาภิ

วั

ตน์

(Hewison 1993) โดยรวมเรี

ยกกั

นอย่

างกว้

างๆ ว่

า ความรู้

หรื

อภูมิ

ปั

ญญาท้

องถิ่

น ใน

สังคมไทยความรู้

ท้

องถิ่

นนั้

นถูกจั

ดให้

อยู่

เป็

นส่

วนหนึ่

งของแนวความคิ

ดวัฒนธรรม

ชุ

มชน (ฉั

ตรทิ

พย์

2534) ซึ่

งต่

อมาได้

กลายเป็

นแนวความคิ

ดหลั

กในการวิ

จั

ยด้

าน

วั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนาในสั

งคมไทย รวมทั้

งภาคเหนื

อด้วย

การวิ

จั

ยในช่

วงแรกๆ มั

กจะให้

ความส�

ำคั

ญกั

บความรู้

ท้

องถิ่

นดั

งกล่

าว ใน

ฐานะที่

เป็

นส่

วนหนึ่

งของการตี

ความระบบคุ

ณค่

าและคุ

ณธรรมในพุ

ทธศาสนา ซึ่

งพบ

ว่

าคนท้

องถิ่

นน�

ำมาใช้

ตอบโต้

กั

บการพั

ฒนากระแสหลั

ก ด้

วยการเน้

นคุ

ณธรรมของคน