164
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
ตนเองของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
จึ
งมี
นั
ยส�
ำคั
ญต่
อการเมื
องของอั
ตลั
กษณ์
ทางชาติ
พั
นธุ
์
ตามแนวความคิ
ดที่
ได้
รั
บอิ
ทธิ
พลส่
วนหนึ่
งจากกรั
มชี
(Gramsci 1985) เกี่
ยวกั
บ
การช่
วงชิ
งความหมาย ซึ่งผู้
เขี
ยนได้
ขยายความไว้
แล้
วในบทที่ว่
าด้
วย “การเมื
อง
วั
ฒนธรรมในความคิ
ดของกรั
มชี
” (อานั
นท์ 2555ง: 197-220)
ที่
จริ
งแล้
ว กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ต่
างๆ บนที่
สูงมั
กจะพยายามแสดงอั
ตลั
กษณ์
ของตน
อย่
างหลากหลาย เพื่
อต่
อสู้
กั
บวาทกรรมครอบง�
ำจากภาครั
ฐและสั
งคมภายนอก ซึ่
ง
มั
กจะแฝงไว้
ด้
วยอคติ
ทางชาติ
พั
นธุ
์
ด้
วยการกั
กขั
งภาพลั
กษณ์
ของพวกเขาไว้
กั
บภาพ
ด้านลบต่างๆ อย่างตายตั
ว ไม่ว่าจะเป็นคนท�
ำลายป่า คนที่
เป็นภั
ยต่อความมั่
นคง
หรือคนค้ายาเสพติด ความพยายามดังกล่าวมักจะแสดงออกผ่านการปรับเปลี่ยน
อั
ตลั
กษณ์
อย่
างซั
บซ้
อน ดั
งตั
วอย่
างในวิ
ทยานิ
พนธ์
ของ อรั
ญญา ศิ
ริ
ผล (2544)
เรื่อง ‘ฝิ่นกับคนม้ง: พลวัตความหลากหลายและความซับซ้อนแห่งอัตลักษณ์ของ
คนชายขอบ’ ซึ่
งพบว่
า คนม้
งให้
ความหมายกั
บฝิ
่
นหลายอย่
าง ทั้
งด้
านลบและ
ด้านบวก แตกต่างจากสังคมภายนอกที่มักจะมองฝิ่นด้วยภาพด้านลบอย่างเดียว
แล้วป้ายสีภาพลบนั้
นให้กับคนม้งอย่างตายตัว คนม้งจึงต้องต่อสู้กับภาพด้านลบ
ต่
างๆ ในฐานะที่
เป็
นวาทกรรมครอบง�
ำ เพื่
อก�
ำหนดทิ
ศทางในการพั
ฒนาตนเอง
แทนที่
จะเดิ
นไปตามทางที่
ก�
ำหนดจากสายตาของคนภายนอก การแสดงอั
ตลั
กษณ์
อย่
างหลากหลายจึ
งเปรี
ยบเสมื
อนกลยุ
ทธ์
ทางวั
ฒนธรรมในการพั
ฒนาของกลุ
่
ม
ชาติ
พั
นธุ์อย่างหนึ่
ง
ต่
อมา อรั
ญญา ได้
ประมวลและสั
งเคราะห์
แนวทางในการต่
อรองอั
ตลั
กษณ์
ของคนม้
งในกรณี
ศึ
กษาออกมาอย่
างน้
อย 3 แนวทางด้
วยกั
น ส่
วนหนึ่
งเลื
อกที่
จะมุ
่
งไป
ด้
านการค้
าขาย โดยเฉพาะการหั
นไปผลิ
ตและขายหั
ตถกรรมทางวั
ฒนธรรมของตน
ด้
วยการสร้
างเครื
อข่
ายทางการค้
าอย่
างกว้
างขวาง จนสามารถท�
ำธุ
รกิ
จส่
งสิ
นค้
าออก
ไปต่
างประเทศได้
เอง บางส่
วนก็
หั
นไปท�
ำการเกษตรแบบถาวร ด้
วยการท�
ำสวนไม้
ผล
ไม่ว่าจะเป็นลิ้
นจี่
ล�ำไย หรื
อมะม่วง ท�
ำนองเดี
ยวกั
นกั
บคนพื้
นราบ แทนที่
จะผูกติ
ด
อยู่
กั
บการพึ่
งพาการเพาะปลูกแบบย้
ายที่
ด้
วยการปลูกฝิ่
นเช่
นในอดี
ต ขณะที่
คนใน
ชุ
มชนก็
หั
นมาสนใจปกป้
องรั
กษาป่
าศั
กดิ์
สิ
ทธิ์
ซึ่
งถื
อเป็
นความพยายามปรั
บใช้
ความรู้