Previous Page  164 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 164 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

163

ใช้

ในการนิ

ยามพื้

นที่

ป่

าอนุ

รั

กษ์

ให้

เป็

นพื้

นที่

ของรั

ฐ และน�

ำไปสู่

การตอกย�้ำซ�้

ำเติ

การกี

ดกั

นชาวลาหู่ออกไปจากการใช้พื้

นที่

ป่าอี

กทางหนึ่

งด้วย

ภายใต้

บริ

บทของวาทกรรมครอบง�

ำ และความพยายามกี

ดกั

นชาวลาหู่

ออกจากการใช้

พื้

นที่

ป่

าดั

งกล่

าว การวิ

จั

ยของ สมบั

ติ

บุ

ญค�

ำเยื

องได้

พบว่

าชาวลาหู่

ไม่ได้สยบยอมหรื

ออพยพบออกจากพื้

นที่

ไปเสี

ยทั้

งหมด แต่ชาวลาหู่บางส่วนยั

งได้

พยายามดิ้

นรนต่อสู้ ผ่านการนิ

ยามความหมายของอั

ตลั

กษณ์หรื

อความเป็นตั

วตน

ทางชาติ

พั

นธุ์ (Ethnic Identity) ให้แตกต่างจากกลุ่มชนอื่

นๆ เพื่

อรั

กษาความมั่

นคง

ในการด�ำรงชีวิต ด้วยการช่วงชิงความหมายเกี่ยวกับพัฒนาและการอนุรักษ์ต่างๆ

อย่

างซั

บซ้

อน ไม่

ว่

าจะเป็

นการปรั

บเปลี่

ยนแบบแผนการใช้

พื้

นที่

เพาะปลูก จาก

กึ่

งเร่

ร่

อนมาเป็

นกึ่

งถาวร พร้

อมทั้

งการรั

กษาพื้

นที่

ปลูกข้

าวแบบเก่

า ในความพยายาม

อนุ

รั

กษ์

ความรู้

ของกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ของตนเอง และยั

งได้

เข้

าร่

วมกิ

จกรรมต่

างๆ ในการ

อนุ

รั

กษ์

พื้

นที่

ป่

าอย่

างจริ

งจั

ง เพื่

อช่

วยสร้

างความหมายใหม่

ให้

กั

บความเป็

นตั

วตนทาง

ชาติพันธุ์ของชาวลาหู่ในฐานะผู้อนุรักษ์ พร้อมๆ กับช่วยเสริมให้พวกเขามีอ�ำนาจ

เหนื

อการจั

ดการพื้

นที่

ป่าเพิ่

มขึ้

นด้วย (สมบั

ติ

2540: 187-206 )

หลั

งจากนั้

นการเมื

องว่

าด้

วยอั

ตลั

กษณ์

ทางชาติ

พั

นธุ

(Politics of Ethnic Identity)

ก็

ได้

กลายมาเป็

นแนวความคิ

ดส�

ำคั

ญ ในการวิ

จั

ยด้

านวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนา

ดั

งจะพบเห็

นในงานวิ

ทยานิ

พนธ์

อี

กหลายฉบั

บต่

อๆ มา อาทิ

เช่

น วิ

นั

ย บุ

ญลื

อ (2545) เรื่

อง

‘ทุ

นทางวั

ฒนธรรมและการช่

วงชิ

งอ�

ำนาจเชิ

งสั

ญลั

กษณ์

ของชุ

มชนชาวปกาเกอะญอ’

วิ

ทยานิ

พนธ์

ฉบั

บนี้

เริ่

มต้

นจากความพยายามชี้

ให้

เห็

นความหมายที่

ชั

ดเจนของตั

วตน

หรื

ออั

ตลั

กษณ์

ว่

า มี

นั

ยของการนิ

ยามตั

วเองให้

แตกต่

างจากคนอื่

น แทนที่

จะถูกคนอื่

นิ

ยาม ตามแนวความคิ

ดของบาร์ธ (Barth 1969) ว่าด้วยการก�

ำหนดพรมแดนของ

ชาติพันธุ์ (Ethnic Boundary) ในกรณี

นี้

ชาวเขาที่เคยถูกเรียกขานว่า “กระเหรี่ยง”

ก็

นิ

ยามกลุ

มชนของตนเองเสี

ยใหม่

ว่

าเป็

น “ปกาเกอะญอ” ซึ่

งแฝงนั

ยของ

การปรั

บเปลี่

ยนความสั

มพั

นธ์

เชิ

งอ�

ำนาจไว้

ด้

วย เพราะในกรณี

ที่

เคยถูกคนอื่

นนิ

ยาม

กลุ่มชนนั้

นก็

จะกลายเป็นฝ่ายถูกกระท�

ำ แต่หากนิ

ยามตั

วตนเองได้ พวกเขาก็

จะมี

อ�

ำนาจในการก�

ำหนดตั

วเองได้

มากขึ้

นตามมา ดั

งนั้

นความพยายามในการนิ

ยาม