Previous Page  161 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 161 / 272 Next Page
Page Background

160

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ของความคิ

ดว่

าด้

วย พื้

นที่

อ�ำนาจ และ อั

ตลั

กษณ์

ที่

โยงใยกั

นอย่

างซั

บซ้

อนมากขึ้

ซึ่

งช่วยขยายความเข้าใจเกี่

ยวกั

บความคิ

ดเรื่

องพื้

นที่

วั

ฒนธรรมขึ้

นมาใหม่ ด้วยการ

นิ

ยามอย่

างชั

ดเจนในเชิ

งวิ

เคราะห์

ว่

าเป็

น “

สนามของความสัมพันธ์เชิงอ�ำนาจ”

ใน

กระบวนการผลิ

ตสร้

างความแตกต่

างทางวั

ฒนธรรม ทั้

งนี้

เพราะกระบวนการดั

งกล่

าว

เกิ

ดขึ้

นในพื้

นที่

ที่

เกี่

ยวเนื่

องกั

น ภายใต้

บริ

บทของความสั

มพั

นธ์

ทางเศรษฐกิ

จการเมื

อง

ของความไม่

เท่

าเที

ยมกั

น ที่

มี

การครอบง�

ำกั

นอยู่

ในระบบโลก ตามนั

ยดั

งกล่

าว

ในด้

านหนึ่

งพื้

นที่

วั

ฒนธรรมจึ

งเสมื

อนเป็

นการเมื

องของการสร้

างความเป็

นอื่

ด้

วยการจิ

นตนาการและบั

งคั

บควบคุ

มภาพตั

วแทน แต่

ในอี

กด้

านหนึ่

ง พื้

นที่

วั

ฒนธรรมก็

เปิ

ดให้

มี

ต่

อสู้

ช่

วงชิ

งอั

ตลั

กษณ์

เพื่

อผลิ

ตสร้

างความแตกต่

างให้

อยู่

เหนื

การควบคุ

มนั้

นด้วย (Gupta and Ferguson 1992: 16-17)

แนวทางการเปลี่

ยนแปลงความเข้

าใจความหมายของวั

ฒนธรรมท�

ำนอง

ดั

งกล่

าว ได้

มี

ผู้

น�ำมาสานต่

อ เพื่

อช่

วยวิ

เคราะห์

สถานะของวั

ฒนธรรมในการพั

ฒนา

พร้อมทั้

งยั

งขยายมุ

มมองเพิ่

มเติ

มอี

กด้วย ดั

งจะเห็

นได้จากบทความเรื่

อง “Culture,

development, and social theory: on cultural studies and the place of culture in

development” ซึ่

งพยายามเน้

นให้

เห็

นถึ

งความส�

ำคั

ญของผู้

กระท�

ำการทางวั

ฒนธรรม

มากขึ้

น โดยชี้

ให้

เห็

นว่

าพวกเขาไม่

ได้

เดิ

นตามแนวทางวั

ฒนธรรมที่

มี

อยู่

เดิ

มอย่

าง

ตั้

งรั

บเสมอไปเท่

านั้

น หากยั

งปฏิ

บั

ติ

การอย่

างเป็

นผู้

กระท�

ำอย่

างจริ

งจั

ง ด้

วยการ

สร้

างสรรค์

ช่

วงชิ

ง และต่

อรองกั

บความหมายทางวั

ฒนธรรมต่

างๆ ที่

เปลี่

ยนแปลงอย่

าง

รวดเร็

วในโลกสมั

ยใหม่

เพื่

อปรั

บเปลี่

ยนความสั

มพั

นธ์

เชิ

งอ�

ำนาจที่

แอบแฝงอยู่

ทั้

งใน

วาทกรรมและกระบวนการพัฒนา ผ่านการต่อสู้ในพื้นที่การเมืองวัฒนธรรมต่างๆ

โดยเฉพาะการเมืองของอัตลักษณ์ ลีลาชีวิต (Lifestyle) และการสร้างการยอมรับ

ความหลากหลายทางวั

ฒนธรรม เป็นต้น (Clammer 2005)

ในข้

อเขี

ยนบทนี้

ผู้

เขี

ยนจะพยายามสั

งเคราะห์

การวิ

จั

ยด้

านวั

ฒนธรรมกั

การพัฒนา ในกรณี

ของภาคเหนือของประเทศไทย โดยเฉพาะในช่วงหลังปี 2540

เป็

นต้

นมา เพื่

อประเมิ

นทิ

ศทางการเปลี่

ยนแปลงความเข้

าใจความหมายของ

วั

ฒนธรรมและความเชื่

อมโยงกั

บการพั

ฒนา ว่

าเกิ

ดขึ้

นในพื้

นที่

วั

ฒนธรรมแบบใด