Previous Page  163 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 163 / 272 Next Page
Page Background

162

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ความหมายของการพั

ฒนา สิ

ทธิ

อั

ตลั

กษณ์

จนถึ

งความรู้

และภูมิ

ปั

ญญาในเรื่

องต่

างๆ

ที่

ไม่

ชั

ดเจนและไม่

ตายตั

ว แต่

ยั

งคงเป็

นประเด็

นถกเถี

ยง ขั

ดแย้

ง และช่

วงชิ

งความหมาย

กั

นอยู่

การวิ

จั

ยในแนวทางดั

งกล่

าวจึ

งมั

กขึ้

นอยู่

กั

บความรู้

และความเข้

าใจ

ในแนวความคิ

ดและทฤษฎี

ทางสั

งคมศาสตร์

ค่

อนข้

างมาก เพื่

อช่

วยเชื่

อมโยงประเด็

และแง่

มุ

มต่

างๆ ซึ่

งหากมองดูอย่

างผิ

วเผิ

นแล้

วอาจจะมองไม่

เห็

นความเกี่

ยวข้

อง

อย่

างชั

ดเจน งานส่

วนใหญ่

มั

กจะจ�

ำกั

ดอยู่

ในงานประเภทวิ

ทยานิ

พนธ์

ในระดั

บั

ณฑิ

ตศึ

กษา

ส�

ำหรั

บในกรณี

ของภาคเหนื

อ นั

บตั้

งแต่

ปี

พ.ศ. 2540 เป็

นต้

นมา จะพบการวิ

จั

ภาคสนามอย่

างเข้

มข้

นในหั

วข้

อท�

ำนองนี้

หลายชิ้

น โดยเฉพาะงานวิ

จั

ยเพื่

อการ

ท�

ำวิ

ทยานิ

พนธ์

ระดั

บบั

ณฑิ

ตศึ

กษา แม้

ว่

าประเด็

นนี้

อาจจะคาบเกี่

ยวอยู่

บ้

างกั

บเรื่

อง

ชาติ

พั

นธุ

ซึ่

งเป็

นประเด็

นเฉพาะของข้

อเขี

ยนอี

กบทหนึ่

งในหนั

งสื

อเล่

มนี้

อยู่

แล้

วก็

ตาม

แต่

ในบทนี้

จะเน้

นเฉพาะประเด็นชาติพันธุ์

ที่เชื่อมโยงกับวัฒนธรรมและการพัฒนา

เท่านั้

เริ่

มจากวิ

ทยานิ

พนธ์

ของสมบั

ติ

บุ

ญค�

ำเยื

อง (2540) เรื่

อง ‘ปั

ญหาการนิ

ยาม

ความหมายของป่าและการอ้างสิทธิเหนือพื้นที่: กรณีศึกษาชาวลาหู่’ ซึ่งถกเถียง

ปั

ญหาการพั

ฒนาพื้

นที่

สูงว่

าเกี่

ยวข้

องกั

บวาทกรรมการพั

ฒนาและการอนุ

รั

กษ์

ธรรมชาติ

ด้

วยการชี้

ให้

เห็

นว่

า ชาวลาหู่

ต้

องพยายามดิ้

นรนต่

อสู้

กั

บการนิ

ยาม

ความหมายการพั

ฒนาของภาครั

ฐ ที่

มี

ลั

กษณะครอบง�ำ ผ่

านการเน้

นความจริ

เพี

ยงด้

านเดี

ยว เพราะมุ

งเน้

นนั

ยของการพั

ฒนาเฉพาะด้

านการสร้

างโครงสร้

างพื้

นฐาน

สมั

ยใหม่

เพื่

อสนั

บสนุ

นเศรษฐกิ

จเชิ

งพาณิ

ชย์

เป็

นหลั

ก ขณะเดี

ยวกั

นก็

ใช้

ความหมาย

นั้นในเชิ

งเปรี

ยบเที

ยบ เพื่

อกล่

าวหาชาวลาหู่

ว่

าด้

อยพั

ฒนา เพราะยั

งยึ

ดติ

ดอยู่

กั

บเศรษฐกิ

จแบบล้

าหลั

ง บนพื้

นฐานของการท�

ำไร่

แบบย้

ายที่

เพื่

อเลี้

ยงชี

พเท่

านั้

ซึ่

งเท่

ากั

บไปลดทอนความเข้

าใจระบบการเกษตรบนที่

สูงของชาวลาหู่

ลงไปอย่

างมาก

จนน�ำไปสู่ความพยายามการกีดกันชาวลาหู่ไม่ให้ใช้พื้นที่ป่า โดยถือว่าเป็นการใช้

ที่ท�

ำลายป่

า เพราะขาดความรู้

ด้

านการอนุรั

กษ์

ธรรมชาติ

สมัยใหม่

ตามที่ภาครัฐ