Previous Page  162 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 162 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

161

และเกี่

ยวข้

องกั

บกลุ

มชนใดบ้

าง ภายใต้

บริ

บทของวาทกรรมการพั

ฒนาอะไรบ้

าง

บนพื้นฐานของวิธีวิทยาอย่

างไร และจะน�

ำไปสู่

ความรู้

ความเข้าใจประเด็นปัญหา

การเปลี่

ยนวั

ฒนธรรมและการพั

ฒนามากน้อยอย่างไร

4.2 วาทกรรมการพัฒนาในการเมืองของอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์

ในปี

พ.ศ. 2551 เมื่

อผู้

เขี

ยนสั

งเคราะห์

ความเข้

าใจความหมายของวั

ฒนธรรมใน

งานวิ

จั

ยสั

งคมไทย

1

ผู้

เขี

ยนเคยเสนอว่

ากลุ

มศึ

กษาวั

ฒนธรรมในฐานะที่

เป็

นวาทกรรม

ได้

เริ่

มก่

อรูปก่

อร่

างขึ้

นตั้

งแต่

ราวปี

พ.ศ. 2530 มาแล้

ว จากอิ

ทธิ

พลทางความคิ

ดของ

มิ

เชล ฟูโกต์

และสะท้

อนออกมาอย่

างชั

ดเจนครั้

งแรกๆ ในงานของยุ

กติ

(2537) ที่

วิ

พากษ์

ความคิ

ดในการพั

ฒนาแบบวั

ฒนธรรมชุ

มชน ซึ่

งชี้

ให้เห็

นว่าวั

ฒนธรรมนั้

นเกี่

ยวข้อง

กั

บการสร้

างและนิ

ยามความหมายให้

มี

อ�

ำนาจครอบง�

ำด้

วย โดยเพิ่

มเติ

มจากการมอง

วัฒนธรรมว่าเป็นเพียงอุดมการณ์ คุณค่า และภูมิปัญญา ตามที่เคยยึดถือกันมา

ก่

อนหน้

านั้

น การที่

วาทกรรมกลายเป็

นประเด็

นส�

ำคั

ญในด้

านวั

ฒนธรรมและการ

พั

ฒนา ก็

เพราะมั

กจะเกี่

ยวข้

องกั

บระบอบความรู้

ซึ่

งมี

แนวโน้

มที่

จะน�

ำไปสู่

การ

ครอบง�

ำสูง และส่

งผลให้

เกิ

ดการพั

ฒนาเอนเอี

ยงไปในด้

านใดด้

านหนึ่

งแต่

เพี

ยงด้

าน

เดี

ยว จนกระทบต่อชี

วิ

ตของกลุ่มชนที่

มี

วิ

ถี

ทางวั

ฒนธรรมแตกต่างกั

น และผลั

กดั

ให้เกิดการช่วงชิงความหมายในเรื่องต่างๆ อย่างเข้มข้น (รวมพิมพ์อยู่ใน อานั

นท์

2555: 54-68) ภายหลังจึ

งได้ค่อยๆ ขยายความเข้าใจมาเป็นแนวความคิ

ดเรื่

องพื้

นที่

วั

ฒนธรรม ในฐานะที่

เป็นพื้

นที่

ช่วงชิ

งความรู้นั่

นเอง

การศึ

กษาวั

ฒนธรรมในเชิ

งวาทกรรมจึ

งมี

นั

ยของการศึ

กษาการเมื

องของ

วัฒนธรรม ทั้งนี้แทนที่จะมองวัฒนธรรมในเชิงอุดมการณ์และคุณค่าที่ชัดเจนและ

ตายตั

ว ก็

มั

กจะเปลี่

ยนมาให้

ความส�

ำคั

ญกั

บความสั

มพั

นธ์

เชิ

งอ�

ำนาจที่

แฝงอยู่

ในวั

ฒนธรรมมากขึ้

น ขณะที่

จะเน้

นวั

ฒนธรรมในด้

านของความหมาย นั

บตั้

งแต่

1 รวมพิมพ์อยู่ในบทที่ 2 ของหนั

งสือชุดนี้เล่

ม 1 เรื่อง “ถกวัฒนธรรมในงานวิจัยภาคกลาง” (ฉวีวรรณ

ประจวบเหมาะ บก 2558)