Previous Page  160 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 160 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

159

ความแตกต่

างและความหลากหลายทางวั

ฒนธรรมกลายเป็

นจุ

ดเน้

นทางการ

ศึ

กษามากขึ้

นในปี

พ.ศ. 2515 (ค.ศ. 1972) เมื่

อนั

กมานุ

ษยวิ

ทยาได้

เริ่

มตั้

งประเด็

นปั

ญหา

ควบคู่

ไปกั

บเชื่

อมโยงความสั

มพั

นธ์

ทางการเมื

องในพื้

นที่

เป็

นครั้

งแรก จากการศึ

กษา

ถึ

งความพยายามของกลุ

มผู้

น�

ำชนพื้

นเมื

องในอาฟริ

กา ที่

ช่

วงชิ

งความหมายของ

สถานที่

แตกต่

างไปจากความหมายเชิ

งสั

ญลั

กษณ์

ของเจ้

าอาณานิ

คม หลั

งจากได้

รั

เอกราช (Kuper 1972) ซึ่งช่วยขยายความเข้าใจพื้นที่วัฒนธรรม จากลักษณะที่มี

เอกภาพและกลมกลื

นให้

มองเห็

นความแตกต่

างและขั

ดแย้

งกั

นด้

วย ในช่

วงระหว่

าง

ทศวรรษ 2520-2530 เสี

ยงของนั

กมานุ

ษยวิ

ทยาที่

ออกมาวิ

พากษ์

วิ

จารณ์

ความเข้

าใจ

พื้

นที่

วั

ฒนธรรมแบบกลมกลื

นก็

ดั

งกระหึ่

มเพิ่

มมากขึ้

น พร้

อมๆ กั

บการชั

กชวนให้

หั

นมาสนใจมุ

มมองที่

หลากหลายของกลุ

มคนต่

างๆ ในพื้

นที่

วั

ฒนธรรมเดี

ยวกั

เพราะในช่

วงเวลานั้

นผู้

คนกลุ

มต่

างๆ ได้

เคลื่

อนย้

ายข้

ามพรมแดนรัฐชาติ

กั

นอย่

าง

กว้

างขวาง ภายใต้

บริ

บทของกระบวนการโลกาภิ

วั

ตน์

และสภาวะไร้

พรมแดน

จนยากที่

จะจองจ�

ำพื้

นที่

วั

ฒนธรรมให้

มี

เอกภาพและหยุ

ดนิ่งตายตั

วได้

อี

กต่

อไป

แม้จะพูดถึงวัฒนธรรมของคนพื้นเมืองก็ตาม ซึ่งมีส่วนอย่างส�

ำคัญในการผลักดัน

ให้

นั

กมานุ

ษยวิ

ทยาต้

องตั้

งค�

ำถามไปพร้

อมๆ กั

บการวิ

พากษ์

วิ

จารณ์

อย่

างจริ

งจั

ต่

อการยึ

ดติ

ดอยู่

กั

บกรอบความคิ

ดความเข้

าใจวั

ฒนธรรมแบบแก่

นสารนิ

ยม

เช่

นที่

ผ่

านๆ มา และต้

องหั

นมาสนใจพื้

นที่

วั

ฒนธรรมในเชิ

งกระบวนการแทนที่

นอกจากนั้นยั

งมี

ความพยายามตั้

งข้

อสั

งเกตอี

กด้

วยว่

า กระบวนการต่

างๆ นั้น

เกี่ยวข้องกับการสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ที่น่าจะเป็นประสบการณ์ตรงของ

ผู้คนทั้

งหลายในยุ

คปัจจุ

บั

นนั่

นเอง (Clifford 1988)

หลั

งจากการอภิ

ปรายถกเถี

ยงและวิ

พากษ์

วิ

จารณ์

กั

นอย่

างเข้

มข้

นตลอดช่

วง

ทศวรรษที่

2520-2530 ท้

ายที่

สุ

ดก็

ได้

มี

ความพยายามสรุ

ปและสั

งเคราะห์

ความเข้

าใจ

พื้

นที่

วั

ฒนธรรมขึ้

นมาใหม่

ในบทความที่

ทรงอิ

ทธิ

พลทางความคิ

ดอย่

างมากชิ้

นหนึ่

เรื่

อง “Beyond “culture”: space, identity and the politics of difference” ซึ่

งพยายาม

เสนอให้

นั

กมานุ

ษยวิ

ทยาก้

าวข้

ามออกไปจากกรอบของความเข้

าใจวั

ฒนธรรมแบบ

แก่

นสารนิ

ยม และหั

นไปให้

ความสนใจกั

บวั

ฒนธรรมในเชิ

งความสั

มพั

นธ์

เชื่

อมโยงกั