Previous Page  159 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 159 / 272 Next Page
Page Background

158

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

สถานที่หรือดินแดนและวัฒนธรรม จนท�ำให้ไม่สนใจเรื่องของพื้นที่ทางสังคมและ

วั

ฒนธรรม แต่

ในโลกยุ

คโลกาภิ

วั

ตน์

ที่

ผู้

คน สิ

นค้

า และข้

อมูลข่

าวสารลื่

นไหลเคลื่

อนย้

าย

ข้

ามพรมแดนของรั

ฐชาติ

อยู่

ตลอดเวลา มี

ผลให้

วั

ฒนธรรมแตกต่

างกั

นหรื

อวั

ฒนธรรม

ต่างถิ่นมีปฏิสัมพันธ์กันมากขึ้น ทั้งผสมผสานและขัดแย้งกัน จนยากที่จะตีกรอบ

ให้วัฒนธรรมหนึ่

งติดอยู่ในดินแดนเดียวได้อีกต่อไป หรืออาจเรียกได้ว่าวัฒนธรรม

ในปัจจุบันมีลักษณะไร้พรมแดนนั่

นเอง ในสถานการณ์เช่นนี้

จึงเกิดค�

ำถามต่อการ

ศึ

กษาวิ

จั

ยขึ้

นมาใหม่

ว่

า เราจะเข้

าใจวั

ฒนธรรมกั

นอย่

างไร เพราะวั

ฒนธรรมในยุ

คนี้

จะแตกต่างกัน หรือจะมีลักษณะเป็

นลูกผสม และจะมีความเป็

นพหุนิยมมากขึ้น

แม้จะอยู่ในท้องถิ่

นเดี

ยวกั

นก็

ตาม

การศึ

กษาวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมดั

งกล่

าวนี้

เกี่

ยวข้

องอยู่

กั

บปั

ญหา ในการ

เปลี่ยนแปลงความเข้

าใจ แนวความคิดเรื่อง “พื้นที่วัฒนธรรม” (Cultural Space)

โดยเฉพาะที่

ถกเถี

ยงกั

นอยู่

ในวิ

ชามานุ

ษยวิ

ทยา ตั้

งแต่

เริ่

มกล่

าวถึ

งความคิ

ดเรื่

องพื้

นที่

ท�

ำนองนี้

ครั้

งแรกในงานของเดอร์กไคม์ (Emile Durkheim) เมื่

อต้นคริ

สศตวรรษที่

20

ซึ่

งเสนอให้

มองพื้

นที่

ในมิ

ติ

ของความสั

มพั

นธ์

ทางสั

งคม ทั้

งในระดั

บรูปธรรม

เชิ

งประจั

กษ์

และนามธรรมเชิ

งความคิ

ด ผ่

านการชั

กชวนให้

มองศาสนาในฐานะที่

เป็

พื้

นที่

ทางความคิ

ดของการจั

ดจ�ำแนกแยกแยะความหมาย (Kuper 1972: 411-412)

แต่

นั

กมานุ

ษยวิ

ทยาหลั

งจากนั้

น ซึ่

งมุ

งศึ

กษาเฉพาะสั

งคมของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ขนาดเล็

มั

กจ�

ำกั

ดพื้

นที่

วั

ฒนธรรมให้

เป็

นเพี

ยงภาพตั

วแทนส่

วนรวม (Collective Representation)

ที่

มี

ลั

กษณะกลมกลื

นและตายตั

ว จนกระทั่

งมาถึ

งกลางคริ

สต์

ศตวรรษที่

20 เมื่

นั

กมานุ

ษยวิ

ทยาชาวตะวั

นตกหั

นมาศึ

กษาสั

งคมชาวนาบ้

าง ในฐานะที่

เป็

นส่

วนหนึ่

ของสั

งคมในรั

ฐชาติ

ที่

มี

ความสลั

บซั

บซ้

อน จึ

งเริ่

มมองเห็

นความแตกต่

างทาง

วั

ฒนธรรมในสั

งคมเดี

ยวกั

นระหว่

างวั

ฒนธรรมชาติ

และวั

ฒนธรรมย่

อยๆ ในประเทศ

ดั

งปรากฏอย่

างชั

ดเจนในหนั

งสื

อของเร็

ดฟิ

ลด์

เรื่

อง

Peasant Society and Culture

ในปี

2499 (ค.ศ. 1956) ที่

นิ

ยามวั

ฒนธรรมชาติ

ว่

า วั

ฒนธรรมหลวง (Great Traditions)

และวัฒนธรรมย่อยๆ ของชาวนาว่า วั

ฒนธรรมชาวบ้าน (Little Traditions) โดยที่

วั

ฒนธรรมทั้

งสองแบบนั้

นก็

ไม่ได้จ�

ำเป็นต้องสอดคล้องกั

นเสมอไป (Redfiffiifield 1956)