Previous Page  157 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 157 / 272 Next Page
Page Background

156

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

รากฐานของชี

วิ

ตในสั

งคมท้องถิ่

น จนท�ำให้เชื่

อกั

นว่าสามารถน�ำมาใช้เป็นพลั

งของ

การพั

ฒนาทางเลื

อกแทนพลั

งทางเศรษฐกิ

จอย่างเดี

ยวได้

ในช่

วงทศวรรษ 2530 นั้

นเอง แนวทางการใช้

วั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนายั

งได้

รั

การส่

งเสริ

มจากทั้

งภาครั

ฐและองค์

กรโลกบาล เช่

น ยูเนสโก ในความพยายาม

ขั

บเคลื่

อนโครงการ “ทศวรรษของโลกว่

าด้

วยวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนา” ในช่

วง

ระหว่

างปี

2531-2541 จนการวิ

จั

ยด้

านวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนาได้

ขยายตั

วอย่

าง

กว้

างขวางมาก บนพื้

นฐานของความเข้

าใจความเชื่

อมโยงดั

งที่

กล่

าวมาแล้

วเป็

แนวทางหลั

ก ซึ่

งสอดคล้

องกั

บความคิ

ดของปั

ญญาชนระดั

บสากล เช่

น หนั

งสื

เรื่

อง

No Life without Roots: Culture and Development

(Verhelst 1990)

ที่

มี

ส่

วนอย่

างส�

ำคั

ญในการชี้

น�

ำแนวทางการพั

ฒนาจากพลั

งภายในของสั

งคมเอง

ส�

ำหรั

บสั

งคมไทยก็

รั

บความคิ

ดท�

ำนองนี้

มาเช่

นเดี

ยวกั

น ซึ่

งปรากฏอยู่

ในหนั

งสื

อ เช่

ค�ำตอบอยู่ที่หมู่บ้าน

(รสนา บก. 2528) และ

คืนสู่รากเหง้า ทางเลือกและทัศนะ

วิจารณ์ว่าด้วยภูมิปัญญาชาวบ้าน

ของเสรี

พงศ์พิ

ศ (2529) เป็นต้น

อย่

างไรก็

ตาม ในช่

วงทศวรรษที่

2530 ผู้

เขี

ยนได้

เคยพยายามเสนอให้

เพิ่

มเติ

แนวความคิดเรื่อง “สิทธิทางวัฒนธรรม” เข้ามาอีกแนวความคิดหนึ่

ง โดยเฉพาะ

สิ

ทธิ

ชุ

มชนของกลุ่

มชนต่

างๆ ที่

ยั

งมี

ความแตกต่

างหลากหลายทางวั

ฒนธรรมกั

นอยู่

เพื่

อเป็

นทางเลื

อกของการพั

ฒนาในมิ

ติ

ทางวั

ฒนธรรมด้

วย (Anan 1993) ต่

อมาแนวคิ

ดนี้

ได้

กลายเป็

นพื้

นฐานของการวิ

จั

ยเกี่

ยวกั

บการจั

ดการทรั

พยากรส่

วนรวม โดย

เฉพาะเรื่

องป่าชุ

มชน และยังส่งผลให้เกิ

ดการเคลื่

อนไหวทางสั

งคมอย่างกว้างขวาง

เพื่อเรียกร้องให้รัฐออกกฎหมายให้สิทธิแก่กลุ่มชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการจัดการ

ป่

าชุมชน แม้

ว่

าในที่

สุ

ดรัฐจะยั

งไม่

ได้

ผ่

านกฎหมายดั

งกล่

าวก็ตาม แต่

ก็

ช่

วยสร้

าง

พื้

นที่

วั

ฒนธรรมให้

กั

บการพั

ฒนาแก่

ชุ

มชนท้

องถิ่

นเพิ่

มขึ้

นอย่

างมาก (ดู อานั

นท์

2555)

หลั

งทศวรรษที่

2540 เป็นต้นมา งานวิ

จั

ยในประเด็

นเกี่

ยวกั

บความสั

มพั

นธ์

ระหว่

างวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนาในภาคเหนื

อได้

ปรั

บเปลี่

ยนทิ

ศทางไปอย่

าง

มี

นั

ยส�

ำคั

ญ ซึ่

งแตกต่

างอย่

างมากจากช่

วงแรกๆ ของการวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนา

ดั

งจะเห็

นได้

จากการหั

นมามองวั

ฒนธรรม ทั้

งตามแนวความคิ

ดวาทกรรม (Discourse)