Previous Page  11 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 11 / 272 Next Page
Page Background

10

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ในช่วงทศวรรษที่

2480 นั้

นอาจกล่าวได้ว่าการศึ

กษาวิ

จั

ยทางวั

ฒนธรรมใน

หมู่

ชาวไทยส่

วนใหญ่

น่

าจะยั

งมี

ลั

กษณะไม่

เป็

นทางการมากนั

ก คงจ�

ำกั

ดอยู่

ในแวดวง

ของผู้

สนใจในท้

องถิ่

นจ�ำนวนหนึ่

ง ที่

พยายามเก็

บรวบรวมข้

อมูล และบั

นทึ

กเขี

ยนขึ้

ไว้อ่านกันเป็นส่วนตัว ภายหลังก็ได้มีการน�

ำมาพิมพ์เป็นหนั

งสือแจกในงานศพอยู่

บ้าง ตัวอย่างหนั

งสือส�

ำคัญเล่มหนึ่

งในช่วงนี้

คือ หนั

งสือเรื่อง

ผีของชาวลานนา

ไทยโบราณ

(แก้

วมงคล ชั

ยสุ

ริ

ยั

นต์

2486) ซึ่

งได้

บั

นทึ

กการท�ำพิ

ธี

ไหว้

ผี

อารั

กษ์

เมื

องที่

จั

งหวั

ดเชี

ยงรายครั้

งสุ

ดท้

ายเอาไว้

อย่

างละเอี

ยด จากที่

ได้

พบเห็

นมาด้

วยตั

วเอง และ

ยั

งได้กล่าวถึ

งความเชื่

อเรื่

องผี

ต่างๆ เพิ่

มเติ

มไว้อย่างน่าสนใจ

ผู้สนใจศึ

กษาในท้องถิ่

นและท�

ำงานอยู่นอกวงวิ

ชาการทางการ หรื

อนอก

สถาบั

นการศึ

กษามี

บทบาทอย่

างส�

ำคั

ญในการศึ

กษาวั

ฒนธรรมในช่

วงทศวรรษ

ที่

2490 ในฐานะผู้บุ

กเบิ

กการศึ

กษาวิจั

ยทางวั

ฒนธรรมเพราะสามารถพิมพ์ผลงาน

จากการศึ

กษาวั

ฒนธรรมท้

องถิ่

น และวั

ฒนธรรมไทนอกประเทศไทยเป็

นหนั

งสื

ไว้หลายเล่ม คนที่

โดดเด่นและมี

ผลงานมากที่

สุ

ดคนหนึ่

งก็

คื

บุญช่วย ศรีสวัสดิ์

ซึ่

งพิ

มพ์

หนั

งสื

อเรื่

อง

30 ชาติในเชียงราย

(บุ

ญช่

วย ศรี

สวั

สดิ์

2493) และน่

าจะเป็

คนไทยคนแรกๆ ที่

สนใจศึ

กษากลุ

มชาติ

พั

นธุ

บนที่

สูงอย่

างจริ

งจั

ง หลั

งจากการศึ

กษา

ครั้

งแรกของหม่อมเจ้าสนิ

ท รั

งสิ

ตแล้ว นอกจากนั้

นก็

ยั

งมี

เรื่

อง

ไทยสิบสองปันนา

(บุ

ญช่วย ศรี

สวั

สดิ์

2498)

และ

คนไทยในพม่า

(บุ

ญช่วย ศรี

สวั

สดิ์

2503) เป็นต้น

ในช่วงทศวรรษที่ 2500 นั

กศึกษาวัฒนธรรมในท้องถิ่นที่อยู่นอกสถาบันได้

เริ่

มหั

นมาสนใจศึ

กษากลุ่มชาติ

พั

นธุ์ขนาดเล็

ก ดั

งจะเห็

นได้จากการศึ

กษากลุ่มชาติ

พั

นธุ์มลาบรี

(ตองเหลื

อง) ของ ไกรศรี

นิ

มมานเหมิ

ทร์ (Kraisri and Hartland-Swann

1962) และต่

อมาก็

ยั

งได้

ศึ

กษาความเชื่

อเกี่

ยวกั

บผี

อารั

กษ์

คื

อผี

ปู่

แสะและย่

าแสะ ซึ่

เชื่อกันว่าเป็นผีของชาวลัวะ (Kraisri 1967) หลังจากนั้

นมาก็มีนั

กศึกษาวัฒนธรรม

นอกสถาบั

นเพิ่

มขึ้

นตามมาอี

กหลายคน อาทิ

เช่

น สงวน โชติ

สุ

ขรั

ตน์

ซึ่

งเขี

ยนหนั

งสื

เรื่อง

ประเพณีไทยภาคเหนือ

(

สงวน โชติสุขรัตน์ 2510) ด้

วยการรวบรวมและ

บั

นทึ

กเรื่

องราวของประเพณี

ต่างๆ ไว้จ�ำนวนมาก